ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ต่อมทอนซิล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''ต่อมทอนซิล'''เป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของ[[ระบบภูมิคุ้มกัน]]ของร่างกายอยู่ในคอ จัดเป็นเนื้อเยื่อชนิดลิมฟอยด์ในระบบน้ำเหลืองที่ปกคลุมด้วยเซลล์เยื่อบุทางเดินหายใจ มีหน้าที่กำจัดเชื้อโรค แต่บ่อยครั้งที่ตัวมันเองถูกเชื้อโรคเล่นงาน จนเกิดการอักเสบของต่อมเอง ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บคอมีไข้ กลืนลำบาก เบื่ออาหารร่วมกับต่อมน้ำเหลืองที่คอโต อาการป่วยทุกอย่างหาย
{{Infobox anatomy
| Name = ทอนซิล
| Latin = tonsilee
| GraySubject =
| GrayPage =
| Image = Tonsils diagram.jpg
| Caption =
| Image2 = Blausen 0861 Tonsils&Throat Anatomy2.png
| Caption2 = sagittal view of tonsils and throat anatomy.
| Precursor =
| System =
| Artery =
| Vein =
| Nerve =
| Lymph =
| MeshName =
| MeshNumber =
| DorlandsPre =
| DorlandsSuf =
}}
'''ต่อมทอนซิล'''เป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของ[[ระบบภูมิคุ้มกัน]]ของร่างกายอยู่ในคอ จัดเป็นเนื้อเยื่อชนิดลิมฟอยด์ในระบบน้ำเหลืองที่ปกคลุมด้วยเซลล์เยื่อบุทางเดินหายใจ มีหน้าที่กำจัดเชื้อโรค แต่บ่อยครั้งที่ตัวมันเองถูกเชื้อโรคเล่นงาน จนเกิดการอักเสบของต่อมเอง ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บคอมีไข้ กลืนลำบาก เบื่ออาหารร่วมกับต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
 
== ลักษณะ ==
ต่อมทอนซิล (Tonsil) เป็น[[ต่อมน้ำเหลือง]] 2 ปกติต่อมที่ตั้งอยู่ในช่องปาก มีหน้าที่หลักคือ การจับและทำลายเชื้อโรค ที่จะเข้าสู่ร่างกายทางช่องทางเดินอาหารว่าเป็นด่านแรก หน้าที่รองคือ สร้างภูมิคุ้มกันแต่ไม่ใช่ส่วนที่สำคัญ หน้าที่หลักคือ การทำลายเชื้อโรคในช่องปากมากกว่า เป็นกับดักของเชื้อโรค ต่อมทอนซิลจะทำงานร่วมกับต่อมน้ำเหลืองอีก 2 ต่อมบริเวณคอ คือ ต่อมอดีนอยด์และต่อมน้ำเหลืองที่โคนลิ้น ต่อมอดีนอยด์และต่อมทอนซิลจะหลั่งอิมมูโนโกลบูลิน ซึ่งทำหน้าที่ดักจับเชื้อโรคที่ลงมาในลำคอ เพื่อคอยต่อสู้กับเชื้อโรคที่มาทางจมูกและลำคอ ต่อมทอนซิลจะทำหน้าที่ด้านระบบภูมิคุ้มกันมากที่สุดเมื่ออายุ 45-10 ปี หลังจากนั้นจะมีขนาดเล็กลง แต่ยังทำงานเกือบตลอดชีวิต ถ้าต่อม[[ทอนซิลอักเสบ|ทอนซิลมีการอักเสบ]]บ่อยๆ การอักเสบจะทำให้เม็ดเลือดขาวในต่อมทอนซิลลดลง ต่อมทอนซิลจะฆ่าเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกันได้ลดลง และในบางครั้งแทนที่ต่อมทอนซิลจะเป็นที่กินเชื้อโรค แต่กลับกลายเป็นที่เก็บเชื้อโรคแทน ทำให้เกิดการอักเสบขึ้นมาใหม่ ซึ่งเป็นสาเหตุของการกลับมาเป็นซ้ำบ่อยๆอาการหายเป็นปกติ
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://www.thaiclinic.com/tonsillitis.html [การแข็งตัวขององคชาต|ต่อมทอนซิลอักเสบ]] ไทยคลินิก
* [[ระบบไหลเวียน]] เลือดลมทำงานปกติ
* [http://www.elib-online.com/doctors/tonsils.html ทอนซิลอักเสบ] นายแพทย์ชูฤทธิ์ เต็งไตรสรณ์ โรงพยาบาลบำราศนราดูร
* าดูร
* [http://www.elib-online.com/doctors3/ent_tonsil01.html การผ่าตัดทอนซิลอักเสบ] นพ. ประสงค์ พฤกษานานนท์
*[[ระบบขับถ่าย]] หรือขี่ปกติ
 
{{พยาธิวิทยาระบบหายใจ}}