ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โยคะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox intangible heritage
| ICH = โยคะ
| Image = [[ไฟล์:The Union Minister for Civil Aviation, Shri Ashok Gajapathi Raju Pusapati performing Yoga along with other participants, on the occasion of the 2nd International Day of Yoga – 2016, at Visakhapatnam, Andhra Pradesh.jpg|270px]]
| Caption = การปฏิบัติโยคะใน[[รัฐอานธรประเทศ]] พ.ศ. 2559
| Region = เอเชียและแปซิฟิก
| State Party = {{flagcountry|อินเดีย}}
| Domains = ธรรมเนียมและการแสดงออกทางมุขปาฐะ, ศิลปะการแสดง, แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล, ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล
| Criteria = R.1, R.2, R.3, R.4, R.5
| ID = 1163
| Link = https://ich.unesco.org/en/RL/yoga-01163
| Year = 2559
| Session = 11
| List = ตัวแทนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ
}}
{{multiple image
|footer=[[โยคี]]และ[[โยคินี]]ในอินเดียสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึง 18|
เส้น 5 ⟶ 19:
width2=160
|alt2=โยคินีสองคน}}
 
'''โยคะ''' ({{lang-sa|योग}}) เป็นกลุ่มของการปฏิบัติหรือการประพฤติทางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ โดยมีต้นกำเนิดในประเทศอินเดียสมัยโบราณ โยคะมีอยู่ด้วยกันหลานสำหนักซึ่งมีการปฏิบัติและเป้าหมายต่างกันไป{{sfn|White|2011}} ทั้งใน[[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาพุทธ]] และ[[ศาสนาเชน]]<ref>Denise Lardner Carmody, John Carmody (1996), ''Serene Compassion''. Oxford University Press US. p. 68.</ref><ref name="autogenerated1">Stuart Ray Sarbacker, ''Samādhi: The Numinous and Cessative in Indo-Tibetan Yoga''. SUNY Press, 2005, pp. 1–2.</ref><ref name="Tattvarthasutra 2007 p. 102">Tattvarthasutra [6.1], see Manu Doshi (2007) Translation of Tattvarthasutra, Ahmedabad: Shrut Ratnakar p. 102</ref>
 
== ประวัติ ==
โยคะถือกำเนิดใน[[อินเดีย]]เมื่อหลายพันปีที่แล้ว โดยในสมัยโบราณนั้นมนุษย์ได้ค้นคว้าเป็นครั้งแรกเกี่ยวกับความเข้าใจในความเป็นอยู่ของตนเอง อดีตมีการจารึกถ้อยคำด้วยตัวอักษรความรู้ที่สำคัญ ๆ ทั้งหมดถูกส่งผ่านคนรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งในรูปแบบของนิทาน ด้วยวิธีการเช่นนี้ ความรู้ต่าง ๆ จึงได้สะสมขึ้นและวัฒนธรรมต่างๆได้พัฒนาขึ้นมา และนี่คือวิธีการที่การฝึกโยคะได้ถ่ายทอดมาถึงปัจจุบันในหุบเขาสินธุ นักโบราณคดีได้ค้นพบไม้แกะสลักและศิลปะรูปปั้นที่แสดงถึงการฝึกโยคะ ศิลปะเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นโดยประชาคมที่มีความเจริญเป็นอย่างสูงซึ่งเจริญอยู่ในพื้นที่แถบนั้นช่วง 20002,000 และ 10001,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช (ปัจจุบันคือส่วนหนึ่งของ[[ปากีสถาน]]) [[นักปราชญ์]]ชาว[[ฮินดู]]คนหนึ่งชื่อว่า [[ปตัญชลี]] เป็นคนแรกที่ปรับปรุงการฝึกโยคะขั้นพื้นฐาน เขาเขียนสูตรของการฝึกโยคะเป็นหัวข้อ 8 หัวข้อสั้น ๆ หัวข้อเหล่านี้เชื่อว่าได้ถูกเขียนขึ้นเมื่อ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช <ref>[http://pirun.ku.ac.th/~b5002162 ความเป็นมาของโยคะ]</ref>
โดยผู้ที่ปฏิบัติโยคะที่เป็นผู้ชายเรียกว่า '''โยคิน''' หรือ '''โยคี''' ส่วนผู้หญิงเรียกว่า '''โยคินี''' ส่วนผู้สอนเรียกว่า ''[[คุรุ]]'' (ครู) ประเทศตะวันตกได้นำโยคะมาเป็นการออกกำลังกายโดยดัดแปลงจาก Hatha-Yoga ซึ่งเป็นแขนงหนึ่งของโยคะ นอกจากนี้การฝึกท่าโยคะเรียก Asanas เป็นการฝึกท่าโยคะและค้างท่านั้นเป็นระยะเวลาหนึ่ง การฝึกโยคะจะเน้นความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของกระดูกสันหลังทำให้เลือด และสารอาหารไปเลี้ยงประสาทไขสันหลังเพิ่ม การฝึกโยคะจะทำให้การทำงานของต่อมต่างๆ รวมทั้งต่อมไร้ท่อทำงานดีขึ้น ท่าของการฝึกโยคะเป็นการยืดเหยียดกล้ามเนื้อตามแบบของโยคะ และมีการสอดคล้องกับการหายใจเป็นการรวมกาย และจิตร่วมกัน การฝึกท่าโยคะจะเป็นการฝึกประสาท ความยืดหยุ่น ความแข็งแรง การทรงตัว ลดความอ่อนล้าของกล้ามเนื้อ ส่งผลให้สุขภาพจิต และสุขภาพกายดีขึ้น ท่าที่ใช้สำหรับการฝึกโยคะมีมากมาย โดยท่าที่เป็นหลักในการฝึกโยคะ เช่น การฝึกโยคะท่าศพอาสนะ Savasana (Corpse Pose) ท่านั่งก้มตัว (Paschimottanasana) การฝึกท่างู Bhujangasana (Cobra Pose) เป็นต้น<ref>[http://student.nu.ac.th/yoka/history.html ประวัติโยคะ]</ref>
 
เส้น 22 ⟶ 35:
[[หมวดหมู่:การแพทย์ทางเลือก]]
[[หมวดหมู่:สุขภาพ]]
[[หมวดหมู่:มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โยคะ"