ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8228263 โดย Portalianด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
 
== ประวัติ ==
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิสร้างขึ้นเพื่อเทิดทูนวีรกรรมของทหาร ตำรวจ และพลเรือนที่เสียชีวิตไปใน[[กรณีพิพาทอินโดจีน|กรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส]] เรื่องการปรับปรุงพรมแดนไทยกับ[[อินโดจีนฝรั่งเศส]] ซึ่งในครั้งนั้นมีผู้เสียชีวิต 59 คน ทั้งทหาร ตำรวจ และพลเรือน โดยพลเอก [[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] เป็นผู้วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2484 และ[[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] เป็นผู้ทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2485 สถาปนิกผู้ออกแบบอนุสาวรีย์คือ [[หม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล]]
 
ก่อนที่จะมีการสร้างวงเวียนอนุสาวรีย์ บริเวณจุดตัดของ[[ถนนพญาไท]] [[ถนนราชวิถี]] และ[[ถนนพหลโยธิน]]นี้มีชื่อเรียกว่า สี่แยกสนามเป้า
บรรทัด 33:
* เหตุการณ์ที่สำคัญที่ต้องเปิดการสู้รบ
 
[[ไฟล์:อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร (12).jpg|thumb|ตรงกลางอนุสาวรีย์เป็นรูปดาบปลายปืนจำนวน 5 เล่มประกอบรวมกัน]]
ประติมากรรมทหาร 5 เหล่า หม่อมหลวงปิ่นใช้ดาบปลายปืน ซึ่งเป็นอาวุธประจำกายทหาร โดยใช้ดาบปลายปืนห้าเล่มรวมกัน จัดตั้งเป็นกลีบแบบลูกมะเฟือง ปลายดาบชี้ขึ้นบน ส่วนคมของดาบหันออก ก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กประดับหินอ่อน มีความสูงประมาณ 50 เมตร ดาบปลายปืนส่วนด้ามตั้งเหนือเพดานห้องโถงใหญ่ ซึ่งใช้เก็บกระสุนปืนใหญ่บรรจุอัฐิทหารที่เสียชีวิตในกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส ด้านนอกตอนโคนดาบปลายปืน มีรูปปั้นหล่อทองแดง ขนาดสองเท่าคนธรรมดา ของนักรบ 5 เหล่า คือ ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ตำรวจ และพลเรือน ศิลปินผู้ปั้นรูปเหล่านี้เป็นลูกศิษย์ของ [[ศิลป์ พีระศรี|ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี]] เช่น สิทธิเดช แสงหิรัญ, อนุจิตร แสงเดือน, พิมาน มูลประสุข, [[ศิลป์ พีระศรี|แช่ม ขาวมีชื่อ]] ภายใต้การควบคุมของ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ด้านนอกของผนังห้องโถง เป็นแผ่นทองแดงจารึกนามผู้เสียชีวิต รายนามผู้ที่ได้รับการจารึกไว้มีทั้งสิ้น 160 นาย เป็นทหารบก 94 นาย ทหารเรือ 41 นาย ทหารอากาศ 13 นาย และตำรวจสนาม 12 นาย จนถึงปัจจุบันแผ่นทองแดงจารึกรายนามผู้เสียชีวิต และผู้สละชีพเพื่อชาติจากสงครามต่าง ๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2483-พ.ศ. 2497 รวมทั้งสิ้น 801 นายความสำคัญอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิยามค่ำคืนาติจากสงครามต่าง ๆ ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2483]] - [[พ.ศ. 2497]] รวมทั้งสิ้น 801 นาย.
 
== ความสำคัญ ==
เส้น 39 ⟶ 40:
นอกจากเป็นอนุสรณ์สถานที่สำคัญ และเป็นที่จารึกรายนามทหารที่เสียชีวิต ใน[[กรณีพิพาทอินโดจีน|กรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส]] [[สงครามโลกครั้งที่ 2]] และ[[สงครามเกาหลี]]แล้ว ยังเป็นต้นทางของ[[ถนนพหลโยธิน]] รวมไปถึงศูนย์กลางการคมนาคมที่มีรถโดยสารให้บริการในหลายเส้นทาง เป็นจำนวนมาก ทั้งรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และรถตู้ ผ่านตลอด 24 ชั่วโมง จึงทำให้อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิเป็นชุมทางการคมนาคมที่สำคัญของ[[กรุงเทพมหานคร]]ในปัจจุบัน
 
นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ถ่ายทำภาพยนตร์โฆษณา ptt performa gold เมื่อปี พ.ศ.2540 และ ยังเป็นฉากระเบิดอนุสาวรีย์ ในภาพยนตร์เรื่อง มหาอุตม์ เมื่อปี พ.ศ.2546 อีกด้วย
สิ่งก่อสร้างบริเวณอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ได้แก่ [[โรงพยาบาลราชวิถี]] [[โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า]] [[วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า]] [[ทางพิเศษศรีรัช]] [[สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ|สถานีรถไฟฟ้า BTS อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ]] [[แฟชั่นมอลล์]] [[เซ็นเตอร์วัน]]
 
== สถานที่สำคัญใกล้เคียง ==
นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ถ่ายทำภาพยนตร์โฆษณา ptt performa gold เมื่อปี 2540 และ ยังเป็นฉากระเบิดอนุสาวรีย์ ในภาพยนตร์เรื่อง มหาอุตม์ เมื่อปี 2546 อีกด้วย
* [[โรงพยาบาลราชวิถี]] และ [[วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต]]
* [[สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี]] (โรงพยาบาลเด็ก)
* [[โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า]], [[วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์พระมงกุฎเกล้า]]
* [[วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี|วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ]]
* [[คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล|คณะสาธารณสุขศาสตร์]] [[คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล|คณะทันตแพทยศาสตร์]] [[คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล|สถาบันเวชศาสตร์เขตร้อน]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]
* [[เซ็นจูรี่ เดอะมูฟวี่พลาซ่า]]
* [[เซ็นเตอร์วัน ช้อปปิ้งพลาซ่า]]
* [[ทางพิเศษศรีรัช]]
* [[สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ|สถานีรถไฟฟ้า BTS อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ]]
 
== การเดินทาง ==