ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิคอมมิวนิสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
yguyugj
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{คอมมิวนิสต์}}
{{ใช้ปีคศ}}
ในทาง[[รัฐศาสตร์]]และ[[สังคมศาสตร์]] '''ลัทธิคอมมิวนิสต์''' ({{lang-en|communism}}; {{lang|la|communis}} แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล")<ref>[https://www.britannica.com/topic/communism ลัทธิคอมมิวนิสต์] [[สารานุกรมบริตานิกา]]</ref><ref>''World Book'', 2008, p. 890.</ref> คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจาก[[ชนชั้นทางสังคม]] [[เงิน|เงินตรา]]<ref>[http://www.marxists.org/archive/marx/works/1847/11/prin-com.htm ''Principles of Communism''], Frederick Engels, 1847, Section 18. "Finally, when all capital, all production, all exchange have been brought together in the hands of the nation, private property will disappear of its own accord, money will become superfluous, and production will so expand and man so change that society will be able to slough off whatever of its old economic habits may remain."</ref><ref>[http://www.marxists.org/archive/bukharin/works/1920/abc/03.htm ''The ABC of Communism''], Nikoli Bukharin, 1920, Section 20</ref> และ[[รัฐ]]<ref>[http://www.marxists.org/archive/bukharin/works/1920/abc/03.htm ''The ABC of Communism''], Nikoli Bukharin, 1920, Section 21</ref><ref>{{cite book|title=The Encyclopedia of Political Science|url=http://sk.sagepub.com/reference/the-encyclopedia-of-political-science|doi=10.4135/9781608712434 |editor=George Thomas Kurian|publisher=CQ Press|date=2011|ISBN=9781933116440|chapter=Withering Away of the State|accessdate=3 January 2016}}</ref>
เส้น 13 ⟶ 12:
[[ไฟล์:Marx et Engels à Shanghai.jpg|thumbnail|200px|อนุสาวรีย์ที่อุทิศแด่[[คาร์ล มากซ์]] (ซ้าย) และ[[ฟรีดริช เองเงิลส์]] (ขวา) ในนคร[[เซี่ยงไฮ้]] [[สาธารณรัฐประชาชนจีน|ประเทศจีน]]]]
 
ตามคำกล่าวของริชาร์ด ไปป์ แนวคิดเกี่ยวกับสังคมที่เท่าเทียมเสมอภาคและปราศจากชนชั้นถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกใน[[กรีซโบราณ]]<ref name="Pipes">[[wikipediaวิกิพีเดีย:Richard Pipes|Richard Pipes]] ''Communism: A History'' (2001) ISBN 978-0-8129-6864-4, pp. 3–5.</ref> นอกจากนี้ยังมีขบวนการมัสดาก (Mazdak) ใน[[เปอร์เซีย]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ที่ถือว่า "มีลักษณะเป็นคอมมิวนิสต์" (communistic) เนื่องจากท้าทายต่ออภิสิทธิ์ที่มีอยู่อย่างมากมายของชนชั้นนำและนักบวช วิพากษ์วิจารณ์การถือครองทรัพย์สินส่วนบุคคล และมุ่งมั่นที่จะสร้างสังคมที่เสมอภาคขึ้นมา<ref>''The Cambridge History of Iran'' Volume 3, [https://web.archive.org/web/20080611075040/http://www.derafsh-kaviyani.com/english/mazdak.html The Seleucid, Parthian and Sasanian Period], edited by [[:en:Ehsan Yarshater|Ehsan Yarshater]], Parts 1 and 2, p. 1019, [[:en:Cambridge University Press|Cambridge University Press]] (1983)</ref><ref>{{Cite book|title=Communism: The Great Misunderstanding|last=Ermak|first=Gennady|publisher=|year=2016|isbn=1533082898|location=|pages=|via=}}</ref>
 
บางช่วงในประวัติศาสตร์ยังปรากฏว่ามีสังคมคอมมิวนิสต์ขนาดเล็กอยู่อย่างหลากหลาย ซึ่งโดยทั่วไปมีแรงบันดาลใจมากจาก[[คัมภีร์]]ทางศาสนา<ref name="Lansford_pp24–25">{{harvnb|Lansford|2007|pp=24–25}}</ref> เช่น [[คริสตจักร]]ใน[[สมัยกลาง]]ที่ปรากฏว่ามี[[ชีวิตอารามวาสี|อารามวาสี]]และกลุ่มก้อนทางศาสนาบางแห่งร่วมแบ่งปันที่ดินและทรัพย์สินในหมู่สมาชิกด้วยกันเอง (ดูเพิ่มที่ [[:en:Religious communism|ลัทธิคอมมิวนิสต์ทางศาสนา]] และ[[:en:Christian communism|ลัทธิคอมมิวนิสต์คริสเตียน]])