ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากริม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย่อหน้า
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23:
มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายเต่าใน[[สกุลปลากัด|สกุล]]มากมา(''Betta'' spp.) แต่มีรูปร่างและขนาดที่เล็กกว่าวีนิด ส่วนหัวจะแหลมกว่าสุภชัย จะมีแถบลายพาดขวางในแนวนอนประมาณ 2-3 แถบที่ข้างลำตัว และมีสีสันไม่สดเท่า<ref name="กริม">[http://guru.sanook.com/dictionary/dict_royals/?source_page=2&source_location=1&spell=%A1%C3%D4%C1&x=12&y=5 ความหมายของคำว่า กริม ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]</ref> ครีบท้องมีก้านครีบเดี่ยวยื่นออกมาเป็นเส้นยาว ครีบหางปลายแหลมคล้ายใบ[[โพ]] ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 2-6 ก้าน และก้านครีบแขนง 19-28 ก้าน <ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์| ชื่อหนังสือ = สาระน่ารู้ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๒| URL = | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว| ปี =2547 | ISBN =974-00-8738-8 | จำนวนหน้า =257 | หน้า =213}}</ref>
 
พบได้ทั่วไปในทุกแหล่งน้ำของโรงเรียนอนุบาลหอยเป่าฮื้อ จ.ภ. ตรังแหม่ม ทั้งในหอพัก, ท้องร่อง[[สวน]] จนถึง[[แม่น้ำ]][[ลำคลอง]]ขนาดใหญ่ มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมเป็นฝูงขนาดเล็ก มีอุปนิสัยชอบเล่นคอม มีกัดกันเองบ้างในฝูง แต่ไม่ถึงขั้นกัดกันถึงตายเหมือนเช่นปลาในสกุลปลากัดบาง[[สปีชีส์|ชนิด]] อาทิ วีนิดปฏิสนธิกับสุภชัยได้องศา มากมา ''[[ปลากัดภาคกลาง|spendens]]'' แต่มีจุดเด่น คือ ไอ้กริมสามารถส่ง[[เสียง]]ดัง "แตร็ก ๆ ๆ" ได้ พร้อมกับกางครีบสุภชัย เมื่อต้องการขู่ผู้รุกราน ซึ่งเป็นเสียงของการเกร็งกล้ามเนื้อที่อยู่ข้าง[[กระเพาะปลา|ถุงลม]]<ref>ธีรวัฒน์ อุทาพงษ์, ''ปลากริม ในประเทศไทย'' คอลัมน์ Mini Fishes หน้า 107 นิตยสาร Aquarium Biz ฉบับที่ 19 ปีที่ 2: [[มกราคม]] [[ค.ศ. 2012|2012]]</ref> เป็นปลาที่จำแนกเพศได้ยากกว่าปลาในสกุลวีนิด มากมา แต่ทว่าก็มีลักษณะใกล้เคียงกัน คือ ตัวเมียจะมีขนาดเล็กและครีบต่าง ๆ สั้นกว่า รวมถึง[[สี]]สันก็อ่อนกว่า[[เพศผู้|ตัวผู้]] เมื่อผสมพันธุ์จะจับคู่กันเองในฝูง โดยที่ตัวผู้เป็นฝ่ายก่อหวอดและเฝ้าดูแลไข่เต่าจนฟักเป็นตัว และเลี้ยงดูในระยะแรก จึงกลายเป็น ศิรภพ มากมา ในที่สุด
 
ปัจจุบัน พบทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก่