ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิทธิบาท ๔"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เปลี่ยนทางหน้าไปยัง อิทธิบาท ๔
ป้ายระบุ: เปลี่ยนทางใหม่
Catherine Laurence (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8163372 สร้างโดย ร้อยตรี โชคดี (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ลบหน้าเปลี่ยนทาง ทำกลับ ผู้ใช้แก้หน้าเปลี่ยนทาง
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
#เปลี่ยนทาง [[อิทธิบาท ๔]]
 
'''อิทธิบาท''' หรือ '''อิทธิบาท 4''' เป็นศัพท์ใน[[พระพุทธศาสนา]] หมายถึง ฐานหรือหนทางสู่ความสำเร็จ หรือ คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ คุณเครื่องสำเร็จสมประสงค์ ทางแห่งความสำเร็จ คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย มี ๔ ประการ คือ
* [[ฉันทะ]] (ความพอใจ) คือ ความต้องการที่จะทำ ใฝ่ใจรักจะทำสิ่งนั้นอยู่เสมอ และปรารถนาจะทำให้ ได้ผลดียิ่งๆขึ้นไป
{{quote|ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราได้มีความคิดอย่างนี้ว่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญ '''อิทธิบาท''' อันประกอบด้วย[[ฉันทสมาธิ]]และ[[ปธานสังขาร]] ดังนี้ ว่า''ฉันรึยัง''ของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป ไม่หดหู่ในภายใน ไม่ฟุ้งซ่านไปในภายนอก และเธอมีความสำคัญในเบื้อง หลังและเบื้องหน้าอยู่ว่า เบื้องหน้าฉันใด เบื้องหลังก็ฉันนั้น เบื้องหลังฉันใด เบื้องหน้าก็ฉัน นั้น เบื้องล่างฉันใด เบื้องบนก็ฉันนั้น เบื้องบนฉันใด เบื้องล่างก็ฉันนั้น กลางวันฉันใด กลางคืนก็ฉันนั้น กลางคืนฉันใด กลางวันก็ฉันนั้น เธอมีใจเปิดเผย ไม่มีอะไรหุ้มห่อ อบรม จิตใจให้สว่างอยู่.}}<ref>พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 19 หน้า 277 ข้อที่ 1137</ref>
* วิริยะ (ความเพียร) คือ ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน เอาธุระไม่ท้อถอย
{{quote|ภิกษุย่อมเจริญ'''อิทธิบาท'''อันประกอบด้วยวิริยสมาธิและปธานสังขาร ดังนี้ว่า ''วิถานะยะ''ของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป ... ไม่มีอะไรหุ้มห่อ อบรมจิตให้ สว่างอยู่.}}<ref>พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 19 หน้า 277 ข้อที่ 1138</ref>
* จิตตะ (ความคิด) คือ ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทำ และทำสิ่งนั้นด้วยความคิด เอาจิตฝักใฝ่ ไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป
{{quote|ภิกษุย่อมเจริญ'''อิทธิบาท'''อันประกอบด้วยจิตตสมาธิและปธานสังขาร ดังนี้ว่า ''จิต''ของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป ... ไม่มีอะไรหุ้มห่อ อบรมจิตให้สว่างอยู่.}}<ref>พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 19 หน้า 277 ข้อที่ 1139</ref>
* วิมังสา (ความไตร่ตรอง หรือ ทดลอง) คือ หมั่นใช้ปัญญา พิจารณาใคร่ครวญ ตรวจหาเหตุผล และตรวจสอบข้อยิ่งหย่อนในสิ่งที่ทำนั้น มีการวางแผน วัดผล คิดค้นวิธีแก้ไขปรับปรุง เป็นต้น
{{quote| ภิกษุย่อมเจริญ'''อิทธิบาท'''อันประกอบด้วยวิมังสาสมาธิและปธานสังขาร ดังนี้ ว่า ''วิมังสา''ของเราจักไม่ย่อหย่อนเกินไป ไม่ต้องประคองเกินไป ไม่หดหู่ในภายใน ไม่ฟุ้งซ่านไป ภายนอก และเธอมีความสำคัญในเบื้องหลังและเบื้องหน้าอยู่ว่า เบื้องหน้าฉันใด เบื้องหลังก็ฉัน นั้น เบื้องหลังฉันใด เบื้องหน้าก็ฉันนั้น เบื้องล่างฉันใด เบื้องบนก็ฉันนั้น เบื้องบนฉันใด เบื้องล่างก็ฉันนั้น กลางวันฉันใด กลางคืนก็ฉันนั้น กลางคืนฉันใด กลางวันก็ฉันนั้น เธอมี ใจเปิดเผย ไม่มีอะไรหุ้มห่อ อบรมจิตให้สว่างอยู่.}}
 
== อ้างอิง ==
* พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
* [http://84000.org/tipitaka/dic/ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".]
* หนังสือ ศึกษาธรรมะอย่างถูกวิธี หรือ ธรรมวิภาค นวกภูมิ
* คำบรรยายธรรมะ ของ พุทธทาสภิกขุ ในพรรษา ปีพุทธศักราช 2500
 
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:ธรรมหมวด 4]]
[[หมวดหมู่:รู้แจ้งธรรม]]