ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุจิตตาลังการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Raphind (คุย | ส่วนร่วม)
Raphind (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 3:
กรุงเทพมหานคร : ระบบบริหารจัดการงานวิจัยแห่งชาติ</ref>
===ความเป็นมา===
คัมภีร์สุจิตตาลังการ เป็นคัมภีร์ที่อธิบายเรื่องเกี่ยวกับพระอภิธรรมไว้โดยย่อ เปรียบเสมือนแบบเรียนเร็ว แต่งโดยพระกัลยาณเถระชาวพม่า ฉบับหอสมุดแห่งชาติใบลานเลขที่ ๓๖๘๗3687/ข/1-3 ต. ๑๘18 ช. 2 มี 3 ผูก มีจัดเรียงโครงสร้างเนื้อหาเป็น หมวดหมู่ ๑๗17 หมวด ซึ่งควรค่าแก่การอนุรักษ์ และการเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี เพื่อเป็นประโยชน์ต่ออนุชน คนรุ่นหลังต่อไป ส่วนการวิเคราะห์การเรียนการสอนพระอภิธรรมในคัมภีร์สุจิตตาลังการบาลีอักษรขอม<ref>ฉบับหอสมุดแห่งชาติ (ฉบับบาลีขอม). คัมภีร์สุจิตตาลังการ. สร้างในสมัยรัชกาลที่ 4-5 ในคราวทำ
สังคายนาพระไตรปิฎกและรวบรวมคัมภีร์ทางพระศาสนา ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๑๑2411-๒๔๓๖2436.</ref> ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่แต่งขึ้นในพุทธศักราชได้ ๒๑๗๒2172 ที่ประเทศพม่ามีเนื้อหาสาระสัมพันธ์สอดคล้องกันไป ในทิศทางเดียวกันกับพระไตรปิฎกที่พระกัลยาณเถระพยายามรักษาพระอภิธรรมแบบดั้งเดิมเอาไว้ โดยหยิบเอาคำว่า จิต เจตสิก รูป และ นิพพานในพระอภิธรรมปิฎกมาวิเคราะห์โดยไม่เปลี่ยนแปลงเนื้อหา สาระดั้งเดิมของธรรมะเป็นการดำรงไว้ซึ่งคำสอนของพระพุทธเจ้าไว้อีกด้วย ฉะนั้น คัมภีร์สุจิตตาลังการ ที่พระกัลยาณเถระได้รจนาตามแนวคัมภีร์พระอภิธรรมปิฎกและคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะมีเนื้อหาที่ จำแนกจิตเป็นต้นโดยประเภทต่างๆ ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
 
===ลักษณะการแต่ง===
คัมภีร์สุจิตตาลังการ แบ่งออกเป็น การวิเคราะห์ การอธิบายศัพท์เช่น คำว่า จิต มีวิเคราะห์ว่า ธรรมชาติใด ย่อมคิด อธิบายความว่า ย่อมรู้แจ้งอารมณ์