ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความน่ารัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tulsi (คุย | ส่วนร่วม)
Reverted 1 edit by 2403:6200:88A6:26E1:D1A1:3EC7:8BF1:1BEB (talk) to last revision by Potapt. (SWMT)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 8:
ส่วนสัตว์ที่มีตาเล็ก ปากจมูกยาว (คอลัมน์ขวา) ไม่ทำให้เกิดปฏิกิริยาเช่นเดียวกัน" --ค็อนแรด ลอเร็นซ์<ref name="Mickey" />]]
 
'''ความน่ารัก''' ({{lang-en |cuteness}}) เป็นคำบ่งความรู้สึกที่ใช้แสดงความน่าพึงใจ/ความน่าดูน่าชมที่มักจะเกี่ยวข้องกับความเยาว์วัยและรูปร่างหน้าตา
'''ความน่ารัก''' ({{lang-en |cuteness}}) = Miyawaki Sakura
และยังเป็นคำบัญญัติทางวิทยาศาสตร์และแบบวิเคราะห์ใน[[พฤติกรรมวิทยา]]อีกด้วย<ref>{{cite book |last1 = Lorenz |first1 = Konrad |year = 1971 |title = Studies in Animal and Human Behavior |publisher = Harvard Univ Press |location = Cambridge, MA}}</ref>
 
นักวิทยาศาสตร์ที่ใช้คำนี้เป็นคนแรก ([[ชาวออสเตรีย]]ชื่อว่าค็อนแรด ลอเร็นซ์) ได้เสนอความคิดในเรื่องแผนภาพทารก ({{lang-en |baby schema}}, {{lang-de |Kindchenschema}}) ซึ่งเป็นลักษณะทางใบหน้าและร่างกาย
ที่ทำให้สัตว์หนึ่ง ๆ ปรากฏว่า "น่ารัก" และกระตุ้นให้ผู้อื่นช่วยดูแลรักษาสัตว์นั้น ๆ<ref name=Glocker2009a>{{cite journal |authors = Glocker, ML; Langleben, DD; Ruparel, K; Loughead, JW; Valdez, JN; Griffin, MD; Sachser, N; Gur, RC |title = Baby schema modulates the brain reward system in nulliparous women |journal = Proc Natl Acad Sci U S A |volume = 106 |issue = 22 |pages = 9115-9119 |date = 2009-06-02 |url = http://www.pnas.org/content/106/22/9115.figures-only }} </ref>
คำนี้สามารถใช้ในการชมบุคคลและสิ่งของที่น่าดูน่าชมหรือมีเสน่ห์<ref>{{cite web |title = cute, adj. |url = http://oxforddictionaries.com/us/definition/american_english/cute |publisher = OED Online |date = 2012-03 |accessdate = 2012-04-29 }}</ref>
 
อีกอย่างหนึ่ง ความน่ารัก เป็น[[ความสวยงาม]]ประเภทหนึ่งที่มีลักษณะละเอียดอ่อนและดึงดูดใจโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเด็ก ความน่ารักมักจะเกิดจากส่วนประกอบของสิ่งที่มีลักษณะคล้าย[[ทารก]]หรือมีขนาดใกล้เคียงกับทารก และมักจะมีส่วนประกอบของความขี้เล่น ความเปราะบาง และการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้รวมอยู่ด้วย เด็กเล็ก ๆ และสัตว์ในวัยเยาว์มักจะมีการกล่าวถึงในลักษณะความน่ารัก ในขณะเดียวกันสัตว์ใหญ่บางประเภทเช่น[[แพนด้ายักษ์]] ก็ยังมีการกล่าวถึงความน่ารัก เนื่องจากลักษณะที่คล้ายคลึงกับทารก และมีสัดส่วนหัวขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดร่างกาย เทียบกับสัตว์ชนิดอื่น
 
ในประเทศญี่ปุ่น ความน่ารักได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม จะเห็นได้ว่าในสื่อต่าง ๆ เสื้อผ้า อาหาร ของเล่น หรือของใช้ส่วนตัว มักจะมีภาพแสดงความน่ารักออกมา หรือแม้แต่หน่วยงานรัฐบาล การทหารก็ยังมีภาพแสดงความน่ารักออกมา ในขณะที่ไม่มีใช้กันในประเทศอื่นโดยถือว่าเป็นความไม่เหมาะสม ความน่ารักในปัจจุบันได้เป็นส่วนหนึ่งของ[[แผนการตลาด]]ของบริษัทขายของ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน[[ประเทศญี่ปุ่น]] โดยได้กลายเป็นจุดขายที่สำคัญ ตัวอย่างเช่นในสินค้า [[เฮลโล คิตตี้]] หรือ [[โปเกมอน]] หรือแม้แต่ในวัฒนธรรมตะวันตก เช่น [[หมีพูห์]] หรือ [[มิกกี้เมาส์]]
 
== ลักษณะของเด็กและความน่ารัก ==
เส้น 114 ⟶ 123:
คือ นักวิจัยให้ผู้ร่วมการทดลองให้คะแนนความน่ารักของภาพทารกแล้วสังเกตว่าผู้ร่วมการทดลองมีแรงจูงใจที่จะดูแลรักษาทารกแค่ไหน
ผลงานวิจัยบอกเป็นนัยว่า คะแนนที่ให้กับความน่ารักของทารกสอดคล้องกับระดับแรงจูงใจในการดูแลทารก<ref name=Glocker2009b />
นอกจากนั้นแล้ว นักวิจัยยังใช้ [[fMRI]] เพื่อที่จะแสดงว่า เด็กที่มีใบหน้าที่มีลักษณะน่ารักมากกว่า จะทำให้เกิดการทำงานในเขตสมอง nucleus accumbens ที่เป็นส่วนของ [[basal ganglia]] และมีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับความสุขใจมีการหัวเราะเป็นต้น และแรงจูงใจ ในระดับที่สูงกว่า<ref name="Glocker2009a">{{cite journal|authors=Glocker, ML; Langleben, DD; Ruparel, K; Loughead, JW; Valdez, JN; Griffin, MD; Sachser, N; Gur, RC|title=Baby schema modulates the brain reward system in nulliparous women|journal=Proc Natl Acad Sci U S A|volume=106|issue=22|pages=9115-9119|date=2009-06-02|url=http://www.pnas.org/content/106/22/9115.figures-only}} </ref>
ดังนั้น งานวิจัยจึงช่วยเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับกลไกทางประสาทที่แผนภาพทารก (ที่น่ารัก) กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมการดูแลรักษา
นอกจากนั้นแล้ว ทารกที่น่ารักมีโอกาสสูงกว่าที่จะได้รับเลี้ยงเป็นลูก และจะได้รับการระบุว่า "น่าชอบใจ ดูเป็นมิตร มีสุขภาพดี และเก่ง" สูงกว่าทารกที่น่ารักน้อยกว่า