ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8359110 สร้างโดย 2001:44C8:4510:A125:C72:1BF6:1452:A2CE (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 20:
}}
 
'''แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส''' ({{lang-en|Advanced Info Service}}) หรือเรียกโดยย่อว่า '''เอไอเอส''' เป็นบริษัท[[มหาชน]]ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของไทย เป็นผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือที่ใหญ่ที่สุดของประเทศตามจำนวนผู้ใช้งาน<ref>http://investor.ais.co.th/Default.aspx?mid=25</ref> มีสถานะเป็นบริษัทลูกแม่ของ[[อินทัช โฮลดิ้งส์]] โดยเอไอเอสถือเป็นบริษัทที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูงเป็นอันดับสองใน[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] รองจาก[[ปตท.]]
 
== ประวัติ ==
เริ่มแรกจดทะเบียนก่อตั้งเป็น บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด เมื่อวันที่ [[24 เมษายน]] [[พ.ศ. 2529]] <ref name="founded">[http://capital.sec.or.th/webapp/corp_fin/datafile/56/20030268T05.DOC แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี 2546 บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส]</ref> เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อเดือนตุลาคม [[พ.ศ. 2533]] โดยเอไอเอสทำสัญญากับ [[องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย]] ให้ดำเนินการโครงการบริการระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ais2100 [[900 MHz|เมกะเฮิรตซ์]] เป็นระยะเวลา 2030 ปี ถึง [[พ.ศ. 2553|พ.ศ. 2561]]
 
เอไอเอสเข้าจดทะเบียนใน[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] เมื่อวันที่ [[13 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2534]] และแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด หลังจากนั้นบริษัทขยายกิจการโดยการเข้าซื้อกิจการในเครือชินวัตร เช่น ''ชินวัตร ดาต้าคอม'' (ปัจจุบันคือ [[บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ตเวิร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด]]) , ''ชินวัตร เพจจิ้ง'' เป็นต้น บริษัทเปิดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ[[จีเอสเอ็ม]] ในชื่อ [[Digital GSM]] ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2537 และได้ขยายเวลาร่วมสัญญาเป็น 25 ปี (หมดสัญญาปี พ.ศ. 2558) เมื่อ พ.ศ. 2539
บรรทัด 29:
== บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ==
* ระบบ[[จีเอสเอ็ม]]
** บนคลื่นความถี่ 9001800 เมกะเฮิร์ตซ์ แบ่งตามวิธีการชำระเงินเป็น 2 ประเภทคือ ชำระค่าบริการเป็นรายเดือน มีชื่อการค้าว่า "จีเอสเอ็ม แอดวานซ์" และ ชำระค่าบริการด้วยการเติมเงิน มีชื่อการค้าว่า "วันทูคอล (One-2-Call)" หรือ "สวัสดี"
** บนคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิร์ตซ์ มีชื่อการค้าว่า "จีเอสเอ็ม 1800"
* ระบบ [[3 จี]]
** บนคลื่นความถี่ 2100 เมกะเฮิร์ตซ์ แบ่งตามวิธีการชำระเงินเป็น 2 ประเภทคือ ชำระค่าบริการเป็นรายเดือน มีชื่อการค้าว่า "เอไอเอส 3 จี" และ ชำระค่าบริการด้วยการเติมเงิน มีชื่อการค้าว่า "เอไอเอส 3 จี วันทูคอล (AIS 3G One-2-Call) " และ "ยู โมบายล์ (YOU! MOBILE)"
* ระบบ [[4 จี]]
** บนคลื่นความถี่ 9001900, 1800 และ 2100 เมกะเฮิร์ตซ์ ด้วยเทคโนโลยี แอลทีอี แอดวานซ์ 3 ซีเอ มีชื่อการค้าว่า "เอไอเอส 4 จี แอดวานซ์ (AIS 4G Advanced)"
* ระบบ [[5 จี|4.5 จี]]
** เป็นการนำคลื่นความถี่ 1800 และ 2100 เมกะเฮิร์ตซ์ มารวมกันโดยใช้เทคโนโลยี (2CA) [[อินเทอร์เน็ตมีม|Carrier Aggregation]], [[การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต|4x4MIMO]] และ [[อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส|DL256QAM/UL64QAM]] รวมถึงนำเครือข่าย [[ไวไฟ|WiFi]] 520 กิกะเฮิร์ตซ์ มารวมเป็นช่องสัญญาณเดียวกัน ด้วยเทคโนโลยีอินเตอร์​เน็ต​ความเร็ว​สูง​ [[อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง|Multipath TCP (MPTCP)]] โดยมีชื่อทางการค้าว่า "เอไอเอส เน็กซ์ จี (AIS Next G)"
== บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ==
* ระบบ[[อินเทอร์เน็ต]]