ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Pradhom W (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมประวัติ และ ผลงานของพระสาโรชรัตนนิมมานก์ ตามอ้างอิงจาหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ และเอกสารจดหมายเหตุ
บรรทัด 2:
|image =
|caption =
|name = พระสาโรชรัตนนิมมานก์ <br> (สาโรช ร. สุขยางค์)
|nationality = ไทย
|birth_date = 12 สิงหาคม พ.ศ. 2438
|birth_place = ท่าเตียน, กรุงเทพมหานคร {{flag|ไทย}}
|alma_mater = {{bulleted list|
| โรงเรียนกล่อมพิทยาคาร
| [[มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล]]
| [[โรงเรียนเทพศิรินทร์]]
| [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]]
| โรงเรียนเอาน์เดิล
| [[มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล]]
}}
|current_residence =
|death_date = 4 เมษายน พ.ศ. 2493 (55 ปี)
|death_place =ตึกมหิดลวรานุสรณ์ โรงพยาบาลศิริราช, เขตบางกอกน้อย, กรุงเทพมหานคร {{flag|ไทย}}
|death_place =
|practice_name =
|Website =
|significant_buildings = {{bulleted list|
| [[หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
| [[กรีฑาสถานแห่งชาติ (สนามศุภชลาศัย)]]
| อาคารที่ทำการกระทรวงยุติธรรม (ทุบไปแล้ว)
| ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
| [[อาคารไปรษณีย์กลาง]] บางรัก
| [[วังวาริชเวสม์]]
| อาคารเรียนในจุฬาฯ หลายอาคารภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
| อาคารภายในโรงพยาบาลศิริราช
}}
|significant_projects=
เส้น 27 ⟶ 32:
}}
 
'''พระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช ร. สุขยางค์)''' (เกิด 12 สิงหาคม พ.ศ. 2438<ref name=":0">หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, ศธ 21.1/177</ref> ถึงแก่กรรม 4 เมษายน พ.ศ. 2493) เป็น[[สถาปนิก]][[ชาวไทย]] อดีตรองอธิบดี[[กรมศิลปากร]] พระสาโรชฯ ถือเป็นหนึ่งในนักเรียน[[สถาปัตยกรรมศาสตร์]]รุ่นแรกๆ ของไทยที่จบการศึกษาจากประเทศอังกฤษ แล้วกลับเข้ามาออกแบบงานสถาปัตยกรรมในประเทศไทยหลายแห่ง ในช่วงตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 7 ถึงหลังยุค[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] เขายังเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง[[สมาคมสถาปนิกสยาม]] ในพระบรมราชูปถัมป์ เมือปี พ.ศ. 2477 โดยดำรงตำแหน่งนายกสมาคมฯ เป็นคนแรก<ref>[http://www.asa.or.th/?q=node/72 ประวัติสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์]</ref>
 
เขาถือเป็นหนึ่งในผู้ออกแบบงานสถาปัตยกรรมสมัยใหม่และสไตล์[[อลังการศิลป์]] (Art Deco) หลายแห่งในไทยทั้ง อาคารที่ทำการกรมไปรษณีย์โทรเลข (อาคารไปรษณีย์กลาง) บางรัก, [[วังวาริชเวสม์]], [[หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]], [[สนามศุภชลาศัย|กรีฑาสถานแห่งชาติ (สนามศุภชลาศัย)]] กลุ่มอาคารที่ทำการกระทรวงยุติธรรมหลังเก่า รวมไปถึงอาคารเรียนหลายแห่งหลังใน[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และ โรงพยาบาลศิริราช
 
==ประวัติ==
พระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช ร. สุขยางค์) สกุลเดิม สุภัง<ref name=":0" /> เป็นบุตรชายคนเล็กของ[[หลวงพัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์)]] ผู้ประพันธ์กลอนนิราศเรื่อง [[นิราศหนองคาย]] กับนางเสงี่ยม ท่านมีพี่ชาย 1 คน คือ มหาอำมาตย์โท [[พระยาสารศาสตร์สิริลักษณ์ (สรรเสริญ สุขยางค์)]] ผู้ปฏิบัติราชการในตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพาณิชย์คมนาคม
 
พระสาโรชรัตนนิมมานก์ ศึกษาระดับชั้นประถมที่โรงเรียนกล่อมพิยาคาร วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ระดับชั้นมัธยมที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ และจบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2453<ref name=":1">หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ พระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช ร. สุขยางค์)</ref> ได้รับพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงของ[[กระทรวงธรรมการ]]ให้ออกไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ ในวิชาสถาปัตยกรรม โดยเข้าศึกษาระดับเตรียมอุดมศึกษาที่โรงเรียนเอาน์เดิล เป็นเวลา 2 ปี และได้สำเร็จการศึกษาวิชาสถาปัตยกรรมศาลตร์ และการวางผังเมืองมาจาก[[มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล]]<ref>[http://bangkok-guide.z-xxl.com/vacations/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B9%8C-%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B9%8C พระสาโรชรัตนนิมมานก์]</ref> ประเทศอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. 24562463<ref โดยได้รับพระราชทานทุนเล่าเรียนของ[[กระทรวงธรรมการ]]name=":1" หลังศึกษาจบ/> เข้ารับราชการใช้เวลาใน[[กรมศิลปากร]]ในตำแหน่งสถาปนิกประจำกรมหลักสูตร ได้ออกแบบเช่น5 ไปรษณีย์กลางปี บางรัก, [[วังวาริชเวสม์]] รวมถึงอาคารสมัยใหม่เกือบทุกหลัง ในจังหวัดพระนครและธนบุรีในระยะนั้น (พ.ศ. 2476)<ref>http://www.li-zenn.com/pdf/doc25521012103459.pdf</ref>
 
หลังศึกษาจบ เข้ารับราชการใน[[กรมศิลปากร]] สังกัดกระทรวงธรรมการ ตั้งแต่ พ.ศ. 2463 ในตำแหน่งสถาปนิก ได้มีผลงานออกแบบจำนวนมาก ตลอดช่วงการทำงาน โดยเฉพาะการออกแบบอาคารในหน่วยงานราชการหลากหลายประเภทอาคาร ทั้งอาคารเรียน อาคารที่ทำการ อาคารศาล อาคารโรงพยาบาล ไปจนถึงอาคารหอประชุม และสนามกีฬาขนาดใหญ่ ที่มีการผนวกแนวความคิดสมัยใหม่ รูปแบบสถาปัตยกรรมที่มีความหลากหลาย การวางผังที่สอดรับกับบริบทแวดล้อม ทั้งเชิงการใช้งานอาคาร ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ รวมไปถึงการออกแบบโครงสร้างคอนกรีต พระสาโรชรัตนนิมมานก์ได้รับการแต่งตั้งเป็นสถาปนิกชั้นพิเศษ ระดับเทียบเท่าอธิบดี ในปี พ.ศ. 2485<ref>หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, ศธ0701.2.2/71</ref> ถือเป็นตำแหน่งทางราชการสูงสุดที่ได้รับ จนกระทั่งได้ลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2491 และเสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. 2493<ref name=":1" />
== ผลงาน ==
 
* [[วังวาริชเวสม์]]
== ผลงานออกแบบสถาปัตยกรรม ==
* กลุ่มอาคารที่ทำการกระทรวงยุติธรรมหลังเก่า
 
* ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
* อาคารมานุษยนาควิทยาทาน วัดบวรนิเวศวิหาร
*อาคารนิภานภดล โรงเรียนเทพศิรินทร์
*อาคารมาลินี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
*อาคารวชิรมงกุฎ โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย
*อาคารพยาบาล โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย (ปัจจุบัน หอประวัติ โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย)
*อาคารหอประชุม โรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จ (ปัจจุบัน วิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา)
*โรงเรียนช่างพิมพ์วัดสังเวช (ปัจจุบัน พิพิธบางลำพู)
* [[วังวาริชเวสม์]]
*อาคารที่ทำารกรมไปรษณีย์โทรเลข (ปัจจุบัน อาคารไปรษณีย์กลาง)
*ศาลแขวงเชียงใหม่ (ปัจจุบัน พิพิธภัณฑ์พื้นที่ล้านนา จังหวัดเชียงใหม่)
*ศาลแขวงสงขลา
*กรีฑาสถานแห่งชาติ (ปัจจุบัน สนามศุภชลาศัย)
* ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
* กลุ่มอาคารที่ทำการกระทรวงยุติธรรมหลังเก่า
* โรงแรมรัตนโกสินทร์ ถนนราชดำเนิน
 
=== อาคารในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ===
* ตึกวิทยาศาสตร์ (ตึกชีววิทยา 1 /หรือ ตึกขาว)
* [[หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
*อาคารจักรพงษ์
* ตึกวิทยาศาสตร์ (ตึกชีววิทยา 1 / ตึกขาว)
* ตึกวิศวกรรมศาสตร์ 1 (ปราสาทตึกแดง)
* ตึกฟิสิกส์ 1
*อาคารเคมี 1 (ปัจจุบัน อาคารศิลปวัฒนธรรม)
* [[หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
* อาคารศิลปกรรม 1
*ตึกวิศวกรรมศาสตร์ 2
* อาคารเภสัชกรรมศาสตร์ 1 (ปัจจุบัน อาคารศิลปกรรมศาสตร์ 1)
 
=== อาคารในโรงพยาบาลศิริราช ===
 
* อาคารพยาธิวิทยา
*อาคารอำนวยการคณะแพทยศาสตร์
*อาคารกายวิภาคและสรีรวิทยา
*อาคารศัลยกรรมชาย (อาคารมหิดลบำเพ็ญ)
*อาคารอายุรกรรม (อาคารอัษฎางค์)
*อาคารนรีเวชกรรม (อาคารตรีเพชร)
*อาคารสูติกรรม (อาคารจุฑาธุช)
*อาคารศัลยกรรมหญิง
*อาคารหอพักนักศึกษาแพทย์ชาย
*อาคารอายุกรรมพิเศษ (อาคารมหิดลวรานุสรณ์)
*อาคารหอนอนพยาบาล
 
{|
| [[ไฟล์:Suphachalasai 3099.JPG|thumb|x230px|[[สนามศุภชลาศัย]]]]