ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{Infobox civil conflict
| title = เหตุการณ์ 4 มิถุนายน
เส้น 99 ⟶ 98:
การประท้วงดัวกล่าวเกิดจากผู้นำคอมมิวนิสต์สายปฏิรูป [[หู ย่าวปัง]] เสียชีวิตในเดือนเมษายน 2532 ท่ามกลางฉากหลังที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วในประเทศจีนหลังยุคเหมา ผู้ประท้วงสะท้อนความวิตกกังวลเกี่ยวกับอนาคตของประเทศในความสำนึกของประชาชนและในหมู่อภิชนทางการเมือง การปฏิรูปในคริสต์ทศวรรษ 1980 นำไปสู่เศรษฐกิจแบบตลาดเพิ่งเริ่มใหม่ที่เอื้อประโยชน์แก่คนบางกลุ่ม แต่ทำให้คนที่เหลือเอาใจออกห่างอย่างรุนแรง และระบบพรรคการเมืองเดียวยังเผชิญกับการท้าทายความชอบธรรม ความเดือดร้อนทั่วไปในเวลานั้นได้แก่เงินเฟ้อ การฉ้อราษฎร์บังหลวง การเตรียมพร้อมบัณฑิตสำหรับเศรษฐกิจใหม่ที่มีจำกัด และการจำกัดการมีส่วนร่วมทางการเมือง นักศึกษายังเรียกร้องให้รัฐบาลมีภาระความรับผิดเพิ่มขึ้น กระบวนการทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ ประชาธิปไตย เสรีภาพสื่อ และเสรีภาพในการพูด แม้นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีการจัดตั้งและมีเป้าหมายหลากหลาย ในช่วงที่การประท้วงสูงสุด มีประชาชนประมาณ 1 ล้านคนชุมนุมในจัตุรัส
 
ขณะที่การประท้วงพัฒนา ทางการตอบโต้ทั้งด้วยยุทธวิธีประนอมและสายแข็ง ซึ่งเปิดเผยความแตกแยกร้าวลึกในหมู่หัวหน้าพรรค เมื่อถึงเดือนพฤษภาคม การประท้วงอดอาหารที่นักศึกษานำทำให้เกิดการสนับสนุนการเดินขบวนท่วประเทศ และการประท้วงแพร่ไปยังนคร 400 แห่ง สุดท้ายผู้นำสูงสุดของจีน [[เติ้ง เสี่ยวผิง]] และผู้อาวุโสในพรรคคอมมิวนิสต์คนอื่นเชื่อว่าการประท้วงเป็นภัยคุกคามทางการเมืองและตัดสินใจใช้กำลัง สภารัฐประกาศกฎอัยการศึกในวันที่ 20 พฤษภาคมและระดมทหารประมาณ 300,000 นายมายังกรุงปักกิ่ง ทหารบุกเข้าสู่ส่วนกลางของกรุงปักกิ่งผ่านถนนสำคัญของนครในเช้ามืดวันที่ 4 มิถุนายน และฆ่าผู้เดินขบวนและคนมุงไปพร้อมกัน
== ดูเพิ่ม ==
 
ชุมชนนานาชาติ องค์การสิทธิมนุษยชนและนักวิเคราะห์การเมืองประณามรัฐบาลจีนจากการสังหารหมู่ ประเทศตะวันตกกำหนดการคว่ำบาตรอาวุธต่อประเทศจีน รัฐบาจีนจับกุมผู้ประท้วงและผู้สนับสนุนอย่างกว้างขวาง ปราบปรามการประท้วงอื่นทั่วประเทศ ควบคุมการรายงานเหตุการณ์ของสือในประเทศอย่างเข้มงวด เสริมกำลังตำรวจแะกำลังความมั่นคงภายใน และลดระดับหรือขับไล่เจ้าหน้าที่ที่ดูฝักใฝ่การประท้วง กล่าวให้กว้างขึ้น การปราบปรามชะลอนโยบายการเปิดเสรีในคริสต์ทศรรษ 1980 การประท้วงดังกล่าวถือเป็นเหตุการณ์พลิกผัน และกำหนดข้อจำกัดการแสดงออกทางการเมืองในประทศจีนจวบจนปัจจุบัน ความทรงจำเกี่ยวกับเหตุการณ์สัมพันธ์กับการตั้งคำถามถึงความชอบธรรมขอการปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวาง แลเป็นหัวข้อที่มีการตรวจพิจารณามากที่สุดในประเทศจีน
 
== ดูเพิ่ม ==
*[[แทงค์แมน]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{สงครามเย็น}}