ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปากแหว่งเพดานโหว่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล โรค
'''ปากแหว่ง''' ({{lang-en|cleft lip}}; {{lang-la|cheiloschisis}}) และ'''เพดานโหว่''' ({{lang-en|cleft palate}}; {{lang-la|palatoschisis}}) หรือมักเรียกรวมกันว่า'''ปากแหว่งเพดานโหว่''' เป็น[[ความผิดปกติแต่กำเนิด]]ของการเจริญของใบหน้าระหว่าง[[การตั้งครรภ์]] การรักษาผู้ป่วยที่พิการปากแหว่งเพดานโหว่ทำโดย[[การผ่าตัด]]ทันทีหลังคลอด อัตราผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิด 600-800 คน​กลับมาเป็นปกติ
| Name = ปากแหว่งเพดานโหว่<br /> (Cleft lip and palate)
| Image = 13900470 3PREOPERATION0.jpg
| Caption =
| DiseasesDB = 29604
| DiseasesDB_mult = {{DiseasesDB2|29414}}
| ICD10 = {{ICD10|Q|35||q|35}}-{{ICD10|Q|37||q|35}}
| ICD9 = {{ICD9|749}}
| ICDO =
| OMIM =
| MedlinePlus =
| eMedicineSubj = ped
| eMedicineTopic = 2679
| MeshID =
}}
 
'''ปากแหว่ง''' ({{lang-en|cleft lip}}; {{lang-la|cheiloschisis}}) และ'''เพดานโหว่''' ({{lang-en|cleft palate}}; {{lang-la|palatoschisis}}) หรือมักเรียกรวมกันว่า'''ปากแหว่งเพดานโหว่''' เป็น[[ความผิดปกติแต่กำเนิด]]ของการเจริญของใบหน้าระหว่าง[[การตั้งครรภ์]] การรักษาผู้ป่วยที่พิการปากแหว่งเพดานโหว่ทำโดย[[การผ่าตัด]]ทันทีหลังคลอด อัตราผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่เกิดราว 1 ในทารกแรกเกิด 600-800 คน​กลับมาเป็นปกติคน
 
== ปากแหว่ง ==
ถ้ารอยแยกนั้นไม่ถึงส่วนเพดานปาก จะเรียกความผิดปกตินี้ว่า '''ปากแหว่ง''' หากเกิดที่ด้านบนของริมฝีปากในลักษณะช่องว่างเล็กๆ หรือเว้าเล็กน้อยเรียกว่า ปากแหว่งไม่สมบูรณ์ หรือปากแหว่งบางส่วน (partial or incomplete cleft) แต่หากรอยแยกนี้ต่อเนื่องไปถึงจมูกเรียกว่า ปากแหว่งสมบูรณ์ (complete cleft) ปากแหว่งอาจเกิดข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้ ปากแหว่งมีสาเหตุจากการเชื่อมของ[[ขากรรไกรบน]]และ[[ส่วนยื่นจมูกด้านใกล้กลาง]] (medial nasal processes) เพื่อเป็น[[เพดานปากปฐมภูมิ]] (primary palate) เพดานปากกลับมาเป็นปกติไม่สมบูรณ์
 
<center>