ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ผช. นวนนท์ (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 35:
พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ทรงรับราชการฝ่ายในเป็นพระภรรยาเจ้าทรงอิสริยยศเป็นพระ[[มเหสี]] ตำแหน่ง '''พระอรรคชายาเธอ''' มีหน้าที่ควบคุมดูแลห้องพระเครื่องต้น ของเสวยคาวหวาน อีกทั้งทรงเป็นผู้ที่ตั้งโรงเลี้ยงเด็กขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทย บริเวณ[[ตำบลสวนมะลิ]] [[ถนนบำรุงเมือง]] อุทิศพระกุศลประทานพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ที่สิ้นพระชนม์ไปตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทรงรับเด็กกำพร้าและเด็กยากจนมาเลี้ยงดู สอนให้เล่าเรียน และฝึกวิชาชีพทั้งหญิงและชาย ทรงเป็นองค์อุปนายิกาสภาอุณาโลมแดง ([[สภากาชาดไทย]]) ในสมัยหนึ่งอีกด้วย<ref>[http://www.redcross.or.th/aboutus/patron/upanayika.htm อุปนายิกาสภาอุณาโลมแดง] จากเว็บไซต์[[สภากาชาดไทย]]</ref>
 
พระวิมาดาเธอฯ ประชวรด้วย[[มะเร็งช่องปาก|พระโรคเนื้อร้ายในช่องพระโอษฐ์]]สิ้นพระชนม์ ณ ตำหนักในสวนสุนันทา [[พระราชวังดุสิต]] เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2472 โดยได้รับพระราชทาน[[โกศ]]ทองน้อยทรงพระศพ<ref name="สิ้นพระชนม์">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2472/D/994.PDF ข่าวสิ้นพระชนม์], เล่ม ๔๖, ตอน ง, ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๒, หน้า ๙๙๔ </ref> และได้รับพระราชทานพระโกศทองใหญ่ในวันออกพระเมรุพระราชทานเพลิงพระศพ (พระโกศทองใหญ่เป็นพระโกศชั้นสูงสุดสำหรับทรงพระบรมศพ พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระอัครมเหสี) และพระราชทานเพลิงพระศพ เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2473 ณ พระเมรุ ท้องสนามหลวง<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2473/D/19_1.PDF การพระเมรุท้องสนามหลวง พระราชทานเพลิงพระศพ พระวิมาดาเธอกรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา], เล่ม ๔๗, ตอน ง, ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๓, หน้า ๑๙ </ref>
 
== พระราชบุตร ==