ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
บรรทัด 28:
เอลิซาเบธซึ่งเกิดในครอบครัวตระกูลผู้ดี[[ชาวสก็อต]] ได้กลายมาเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงในปี [[พ.ศ. 2466]] เมื่อเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าชายอัลเบิร์ต ดยุกแห่งยอร์ก พระราชโอรสพระองค์ที่สองใน[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5]] และ [[แมรีแห่งเทก สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีแมรี]] ในฐานะที่เป็นดัชเชสแห่งยอร์ก พระองค์ พระสวามีและพระธิดาทั้งสองคือ เจ้าหญิงเอลิซาเบธ (ภายหลังคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2) และ[[เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน|เจ้าหญิงมาร์กาเรต]] ได้ทรงปฏิบัติตนตามแบบครอบครัวชนชั้นกลาง ดัชเชสได้ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจด้านสาธารณชนต่างๆ มากมายและเป็นที่รู้จักกันว่า ''"ดัชเชสผู้แย้มยิ้ม"'' อันเป็นผลมาจากการปรากฏองค์ต่อหน้าสาธารณชนอยู่เป็นประจำ
 
ในปี [[พ.ศ. 2479]] เอลิซาเบธได้ทรงกลายเป็นสมเด็จพระราชินีอย่างไม่คาดฝันเมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8]] ได้ทรงสละราชสมับติราชสมบัติอย่างกะทันหันเพื่อไปอภิเษกกับนาง[[วอลลิส ซิมป์สัน]] แม่ม่ายชาวอเมริกันที่เคยหย่าร้างแล้วสองครั้ง ในฐานะสมเด็จพระราชินี พระองค์ได้โดยเสด็จพระราชสวามีไปในการเสด็จเยือนทางการทูตยัง[[ประเทศฝรั่งเศส]]และ[[ทวีปอเมริกาเหนือ]]ในช่วงก่อนเกิด[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ในระหว่างสงครามด้วยความแข้มแข็งเด็ดเดี่ยวที่ไม่ย่อท้ออย่างเห็นได้ชัดทำให้เกิดแรงสนับสนุนทางจิตใจต่อสาธารณชนอังกฤษอย่างมากเท่ากับการสำเหนียกรู้ถึงภาระหน้าที่ในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการชวนเชื่อ ได้ทำให้[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]กล่าวถึงพระองค์ว่าเป็น ''"ผู้หญิงที่อันตรายที่สุดในยุโรป"'' หลังจากสงครามพระพลานามัยของพระสวามีได้อ่อนแอลงและทรงกลายเป็นม่ายเมื่อพระชนมายุ 51 พรรษา
 
ในการเสด็จไปประทับยังต่างประเทศของพระเชษฐภรรดาและการเสวยราชสมบัติเป็นสมเด็จพระราชินีนาถของพระธิดาองค์ใหญ่ตอนพระชนมายุ 26 พรรษาเมื่อสมเด็จพระราชินีแมรีเสด็จสวรรคตในปี [[พ.ศ. 2496]] พระองค์ได้ทรงเป็นเชื้อพระวงศ์ที่อาวุโสที่สุดและกลายเป็นหัวหน้าครอบครัว ในช่วงปลายพระชนม์ชีพก็ยังทรงเป็นสมาชิกในพระราชวงศ์อังกฤษที่มีชื่อเสียงอยู่อย่างต่อเนื่อง ขณะที่สมาชิกพระราชวงศ์องค์อื่นๆ ตกอยู่ในการเสื่อมความนิยมจากสาธาณชนมากขึ้น