ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวีปเอเชีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8376630 สร้างโดย 115.87.1.116 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 54:
 
[[ไฟล์:Asia satellite orthographic.jpg|thumb|250px|แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย]]
'''เอเชีย''' ({{lang-en|Asia}}; {{lang-el|Ασία}} ''อาเซีย'') เป็น[[ทวีป]]ใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ใน[[ซีกโลกเหนือ]]และ[[ซีกโลกตะวันออก|ตะวันออก]] ทวีปเอเชียตั้งอยู่ใน[[ทวีปยูเรเชีย]]รวมกับทวีปยุโรป และอยู่ใน[[ทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชีย]]ร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น [[1 ใน 3 ของพื้้นผิวโลก|8.7]]% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของ[[ประชากรโลก|มนุษย์]]มานาน<ref>{{cite web |title=The World at Six Billion |url=https://www.un.org/esa/population/publications/sixbillion/sixbillion.htm |publisher=UN Population Division |archiveurl=https://web.archive.org/web/20160305042434/http://www.un.org/esa/population/publications/sixbillion/sixbillion.htm |archivedate=March 5, 2016 |deadurl=no}}, [https://web.archive.org/web/20160101220025/http://www.un.org/esa/population/publications/sixbillion/sixbilpart1.pdf Table 2]</ref>และเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนาดใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ และที่ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก
 
โดยทั่วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ทางใต้ติด[[มหาสมุทรอินเดีย]]และทางเหนือติดกับ[[มหาสมุทรอาร์กติก]] บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วง[[สมัยคลาสสิก]] ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของ[[คลองสุเอซ]], [[แม่น้ำยูรัล]], [[เทือกเขายูรัล]], [[ช่องแคบตุรกี]], ทางใต้ของ[[เทือกเขาคอเคซัส]], [[ทะเลดำ]]และ[[ทะเลแคสเปียน]]<ref name="ReferenceA">{{cite book |title=National Geographic Atlas of the World |edition=7th |year=1999 |location=Washington, DC |publisher=[[National Geographic Society|National Geographic]] |isbn=978-0-7922-7528-2}} "Europe" (pp. 68–69) ; "Asia" (pp. 90–91) : "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles."</ref>
 
จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก<ref>{{cite web |url=http://www.bharat-rakshak.com/SRR/Volume14/nalapat.html |title=Professor M.D. Nalapat. Ensuring China's "Peaceful Rise". Accessed January 22, 2016. |publisher= |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20100110045822/http://www.bharat-rakshak.com/SRR/Volume14/nalapat.html |archivedate=10 January 2010 |df=}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.eric.ed.gov/ERICWebPortal/custom/portlets/recordDetails/detailmini.jsp?_nfpb=true&_&ERICExtSearch_SearchValue_0=ED460052&ERICExtSearch_SearchType_0=no&accno=ED460052|title=Dahlman, Carl J; Aubert, Jean-Eric. China and the Knowledge Economy: Seizing the 21st Century. WBI Development Studies. World Bank Publications. Accessed January 22, 2016|website=Eric.ed.gov|accessdate=9 November 2017|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20080304235359/http://www.eric.ed.gov/ERICWebPortal/custom/portlets/recordDetails/detailmini.jsp?_nfpb=true&_&ERICExtSearch_SearchValue_0=ED460052&ERICExtSearch_SearchType_0=no&accno=ED460052|archivedate=4 March 2008|df=dmy-all}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.economist.com/surveys/displaystory.cfm?story_id=E1_PNTJQTR |title=The Real Great Leap Forward. The Economist. Sept 30, 2004 |work=The Economist |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20161227234147/http://www.economist.com/surveys/displaystory.cfm?story_id=E1_PNTJQTR |archivedate=27 December 2016 |df=dmy-all }}</ref><ref>[http://search.ft.com/ftArticle?queryText=China+the+world%E2%80%99s+largest+economy+for+18+of+the+past+20+centuries&y=6&aje=false&x=14&id=050926000484&ct=0] {{dead link|date=August 2017|bot=medic}}{{cbignore|bot=medic}}</ref> และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย<ref>[http://www.indianscience.org/essays/22-%20E--Gems%20&%20Minerals%20F.pdf] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20081120220244/http://www.indianscience.org/essays/22-%20E--Gems%20%26%20Minerals%20F.pdf|date=20 November 2008}}</ref> สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของข องชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้าม[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]โดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ [[เส้นทางสายไหม]]กลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่[[ช่องแคบมะละกา]]กลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของ ประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ<ref>{{cite journal |url=http://www.economist.com/diversions/millennium/displayStory.cfm?Story_ID=346605 |title=Like herrings in a barrel |journal=The Economist |date=23 December 1999 |issue=Millennium issue: Population |publisher=The ''Economist'' online, The Economist Group |deadurl=no |archiveurl=https://web.archive.org/web/20100104100155/http://www.economist.com/diversions/millennium/displayStory.cfm?Story_ID=346605 |archivedate=4 January 2010 |df=dmy-all }}.</ref> เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิ[[ศาสนาคริสต์]], [[ศาสนาอิสลาม]], [[ศาสนายูดาห์|ศาสนายู ดาห์]], [[ศาสนาฮินดู]], [[ศาสนาพุทธ]], [[ลัทธิขงจื๊อ]], [[ลัทธิเต๋า]], [[ศาสนาเชน]], [[ศาสนาซิกข์]], [[ศาสนาโซโรอัสเตอร์]]และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย
 
เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด [[ภูมินามวิทยา]]ของเอเชียมีตั้งแต่[[สมัยคลาสสิก]]ซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตาม[[ภูมิศาสตร์มนุษย์|ลักษณะผู้คน]]มากกว่า[[ภูมิศาสตร์กายภาพ|ลักษณะทางกายภาพ]]<ref name=McG-H>{{cite web |title=Asia |url=http://accessscience.com/abstract.aspx?id=054800&referURL=http%3a%2f%2faccessscience.com%2fcontent.aspx%3fid%3d054800 |work=AccessScience |publisher=McGraw-Hill |accessdate=26 July 2011 |archivedate=27 November 2011 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20111127141127/http://accessscience.com/abstract.aspx?id=054800&referURL=http%3A%2F%2Faccessscience.com%2Fcontent.aspx%3Fid%3D054800 |deadurl=yes |df=}}</ref> เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้ง[[ภูมิศาสตร์เอเชีย#ภูมิภาค|ด้านภูมิภาค]] กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างต่ างกันอย่างมากเช่น พื้น[[เขตร้อน]]หรือ[[ทะเลทราย]]ใน[[ตะวันออกกลาง]], ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั้วโลกใน[[ไซบีเรีย]]
 
== ศัพท์มูล ==
บรรทัด 68:
 
=== ยุคโบราณสมัยคลาสสิก ===
คำ "Asia" ในภาษาละติน และคำ "Ἀσία" ในภาษากรีกนั้นปรากฏว่าเป็นคำเดียวกัน นักประพันธ์ชาวโรมันแปลคำว่า "Ἀσία" เป็น "Asia" และชาวโรมันเองตั้งชื่อท้องที่แห่งหนึ่งซึ่งปัจจุบันอยู่ในทวีปเอเชียนี้ว่า "Asia" อนึ่ง ครั้งนั้นยังมีดินแดนที่เรียก "เอเชียน้อย" (Asia Minor) และ "เอเชียใหญ่" (Asia Major คืออิรักในปัจจุบัน) ด้วย เนื่องจากหลักฐานแรกสุดเกี่ยวกับชื่อ "เอเชีย" นี้เป็นหลักฐานภาษากรีก เมื่อว่ากันตามพฤติการณ์แล้ว จึงเป็นไปได้ว่า คำ "เอเชีย" มาจากคำ "Ἀσία" ในภาษากรีก แต่ที่มา ที่ไปเกี่ยวกับการรับหรือถ่ายทอดคำนั้นยังค้นไม่พบ เพราะยังขาดบริบททางภาษา<ref>{{cite encyclopedia | url=http://www.perseus.tufts.edu/hopper/text?doc=Perseus%3Atext%3A1999.04.0057%3Aentry%3D*%29asi%2Fa | title=Ἀσία | author=Henry George Liddell | coauthors=Robert Scott; Henry Stuart Jones; Roderick McKenzie | encyclopedia=A Greek-English Lexicon | year=2007 | location=Medford | publisher=Perseus Digital Library, Tufts University | origyear=1940}}</ref>
 
[[Herodotus|เฮรอโดตัส]] (Herodotus) นักประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ชาวกรีก เป็นบุคคลแรกที่ใช้คำ "เอเชีย" เรียกทวีป ทั้งนี้ ไม่ใช่เพราะว่าเขาประดิษฐ์คำนี้ขึ้น แต่เพราะข้อเขียนเรื่อง ''ฮิสตอรีส์ (Histories) '' ของเขาเป็นงานชิ้นเดียวที่บรรยายทวีปเอเชียไว้โดยละเอียดและเหลือรอดมาถึงยุคปัจจุบัน เฮรอโดตัสนิยามคำว่า "เอเชีย" เอาไว้อย่างครบถ้วนกระบวนความ เขากล่าว่า เขาได้อ่านผลงานของนักภูมิศาสตร์หลายคนซึ่งปัจจุบันสาบสูญไปทั้งสิ้นแล้ว พบว่า ชาวกรีกส่วนใหญ่ถือกันว่า ชื่อทวีปเอเชียนั้นมาจากชื่อของนาง[[Hesione|ฮีไซโอนี]] (Hesione) ภริยาของ[[Prometheus|พรอมีเธียส]] (Prometheus) ขณะที่ชาวลิเดียถือว่า ชื่อทวีปเอเชียมาจากชื่อเจ้าชายเอเซียส (Asies) โอรสแห่งโคติส (Cotys) และนัดดาของพระเจ้า[[Manes (king)|เมนีส]] (Manes) เฮรอโดตัสแสดงความเห็นแย้งว่า ชื่อ "เอเชีย" มาจากชื่อของ[[Asia (mythology)|พรายนางหนึ่ง]]ซึ่งเป็นเทพีประจำเมือง[[ลิเดีย]]ตามความใน[[เทพปกรณัมกรีก]] และแสดงความสงสัยไว้ว่า เหตุใดจึงเอานามสตรีสามนาง "ไปตั้งเป็นนามภูมิภาคซึ่งแท้จริงแล้วเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน" กล่าวคือ ชื่อนาง[[Europa (mythology)|ยูโรปา]] (Europa) สำหรับ[[ยุโรป]] นางเอเชียสำหรับเอเชีย และนาง[[Libya (mythology)|ลิเบีย]] (Libya) สำหรับ[[แอฟริกา]]<ref>{{cite web | url=http://www.theoi.com/Nymphe/NympheAsie.html | title=Asie | work=Encyclopedia: Greek Gods, Spirits, Monsters | publisher=Theoi Greek Mythology, Exploring Mythology in Classical Literature and Art | date=2000-2011}}</ref>