ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไตรศิระ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไตรศิระ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32:
 
== ศาสนาพุทธ ==
[[ศาสนาพุทธ]]ฝ่าย[[เถรวาท]] ถือว่าพระยมมีชาติกำเนิดเป็นเทวดาในชั้น[[จาตุมหาราชิกา]]<ref name="ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ">พระสัทธัมมโชติกะ, ''ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ'', พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ, 2546, หน้า 8-11, 107</ref> และเป็นเจ้าแห่งพระยาเวมานิกเปรต คัมภีร์[[ปปัญจสูทนี]]ระบุว่าในมหานรกแต่ละขุมมีพระยมประจำอยู่ทั้ง 4 ประตู<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=504 อรรถกถาเทวทูตสูตร], อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค</ref> มหานรกมี 8 ขุม จึงมีพระยมทั้งสิ้น 32 องค์<ref name="ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ">พระสัทธัมมโชติกะ, ''ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ'', พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ, 2546, หน้า 8-11, 107</ref>
 
ในเทวทูตสูตร พระพุทธเจ้าตรัสว่าพระยมมีหน้าที่ซักถามสัตว์นรกเกี่ยวกับเทวทูต 5 ได้แก่ ทารกแรกเกิด คนแก่ คนป่วย นักโทษ และคนตาย เพื่อให้สัตว์นรกนั้นได้ระลึกถึงกุศลกรรมที่ตนเคยทำมา หากสัตว์นรกจำได้ก็จะพ้นจากนรก หากจำไม่ได้ยมบาลก็จะนำตัวสัตว์นรกนั้นไปลงโทษตามบาปกรรมที่ได้ทำมา<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=14&A=6750&Z=7030 เทวทูตสูตร], พระไตรปิฎก เล่มที่ 14 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 6 มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์</ref>
บรรทัด 46:
 
=== ยมบาล ===
'''ยมบาล''' หรือ '''นิรยบาล''' คือ เจ้าพนักงานในนรกภูมิ มีหน้าที่ลงโทษทรมานสัตว์นรกตามคำสั่งของพระยม<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 939</ref> ศาสนาพุทธเชื่อว่ายมบาลคือกลุ่มเวมานิกเปรตเช่นเดียวกับพระยม มีชาติกำเนิดอยู่ด้วยกันหลายประเภท เช่นบางกลุ่มเป็น อยู่ในทิพยวิมานเหมือนกับเทวดาในชั้น[[จาตุมหาราชิกา]]<refช่วงเวลาหนึ่ง name="ปรมัตถโชติกะครั้นนถึงอีกช่วงเวลาหนึ่งก็ต้องลงไปทำหน้าที่เป็นนายนิรยบาลลงโทษสัตว์นรก มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกาบางกลุ่มก็เป็นสัตว์ถูกลงโทษอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง ปริจเฉทที่ครั้นถึงอีกช่วงเวลาหนึ่งก็สลับกลับมาเป็นนายนิรยบาลคอยทำหน้าที่ลงโทษไป 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ"/> มี 3 ประเภทสภาวะกรรมที่สลับไปมาเช่นนี้จะดำเนินต่อไปเรื่อยๆจนกว่านายนิรยบาลเหล่านั้นจะหมดวาระกรรมของแต่ละตน
คือ ยมบาลยักษ์และยมบาลกุมภัณฑ์ ยมบาลยักษ์คือ[[ยักษ์]]ที่อยากทำร้ายสัตว์นรก จึงจำแลงกายเป็นยมบาล เที่ยวไล่ทำร้ายสัตว์นรกต่าง ๆ หรือแปลงกายเป็นแร้งกาจิกกินสัตว์นรก และยมบาล[[กุมภัณฑ์]] คือยมบาลที่อาศัยประจำในนรก มีหน้าที่ทำร้ายสัตว์นรก หรือแปลงกายเป็นแร้งกาจับสัตว์นรกกิน<ref name="ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ"/> อีกประเภท เป็นยมบาลที่เกิดขึ้นจากวิบากกรรมของสัตว์นรกเอง เรียกว่า นายนิรยบาล มีกายใหญ่โต ผิวสีดำทมิฬ เนื่องจากเกิดจากกรรมของสัตว์นรกตนนั้นๆ จึงไม่มีชีวิตจิตใจ จึงลงโทษสัตว์นรกนั้นโดยไร้ความเมตตาปราณี
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}5. [http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=37&i=1818 อรรถกถา กถาวัตถุปกรณ์ วรรคที่ ๒๐ นิรยปาลกถา อรรถกถานิรยปาลกถา ว่าด้วยนายนิรยบาล]
 
== ดูเพิ่ม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พระยม"