ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคไมเกรน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Gta2123 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 22:
เชื่อว่า ไมเกรนมีสาเหตุจากปัจจัยสิ่งแวดล้อมและพันธุกรรมผสมกัน<ref name=Lulli2007>{{cite journal|last=Piane|first=M|coauthors=Lulli, P; Farinelli, I; Simeoni, S; De Filippis, S; Patacchioli, FR; Martelletti, P|title=Genetics of migraine and pharmacogenomics: some considerations|journal=The journal of headache and pain|date=December 2007|volume=8|issue=6|pages=334–9|pmid=18058067|doi=10.1007/s10194-007-0427-2|pmc=2779399}}</ref> ผู้ป่วยประมาณสองในสามเป็นในครอบครัว<ref name=Bart10/> การเปลี่ยนระดับ[[ฮอร์โมน]]ผสมกัน เพราะไมเกรนมีผลต่อเด็กชายมากกว่าเด็กหญิงเล็กน้อยก่อน[[วัยเริ่มเจริญพันธุ์]] แต่ในผู้ใหญ่ หญิงเป็นมากกว่าชายประมาณสองถึงสามเท่า<ref name=Broner2009/><ref name=Stovner2007>{{Cite journal|author=Stovner LJ, Zwart JA, Hagen K, Terwindt GM, Pascual J |title=Epidemiology of headache in Europe |journal=European Journal of Neurology |volume=13 |issue=4 |pages=333–45 |date=April 2006 |pmid=16643310 |doi=10.1111/j.1468-1331.2006.01184.x}}</ref> ความเสี่ยงของไมเกรนปกติลดลงระหว่างการตั้งครรภ์<ref name=Broner2009>{{Cite journal|author=Lay CL, Broner SW|title=Migraine in women |journal=Neurologic Clinics |volume=27 |issue=2 |pages=503–11 |date=May 2009 |pmid=19289228 |doi=10.1016/j.ncl.2009.01.002}}</ref> ยังไม่ทราบกลไกที่แน่ชัดของไมเกรน แต่เชื่อว่าเป็นความผิดปกติของประสาทควบคุมหลอดเลือด<ref name=Bart10/> ทฤษฎีหลักสัมพันธ์กับการเร้าได้ (excitability) ที่เพิ่มขึ้นของ[[เปลือกสมอง]]และการควบคุมผิดปกติของ[[เซลล์ประสาท]]รับความเจ็บปวดในนิวเคลียสของ[[ประสาทไทรเจมินัล]]ใน[[ก้านสมอง]]<ref>{{cite journal |author=Dodick DW, Gargus JJ |title=Why migraines strike |journal=Sci. Am. |volume=299 |issue=2 |pages=56–63 |date=August 2008 |pmid=18666680 |url=http://www.scientificamerican.com/article.cfm?id=why-migraines-strike |bibcode=2008SciAm.299b..56D |doi=10.1038/scientificamerican0808-56}}</ref>
 
เริ่มต้น การรักษาแนะนำ คือ [[ยาระงับปวด]]ธรรมดา เช่น [[ไอบูโปรเฟน]]และ[[พาราเซตามอล]] (หรืออะเซตามิโนเฟน) สำหรับปวดศีรษะ [[ยาแก้อาเจียน]]สำหรับคลื่นไส้ และการเลี่ยงตัวกระตุ้น อาจใช้สารเฉพาะเช่น ทริพแทนหรือเออร์โกทามีนในผู้ที่ยาระงับปวดธรรมดาใช้ไม่ได้ผล 15% ของประชากรทั่วโลกเคยเป็นไมเกรนครั้งหนึ่งในชีวิตชีวิต​เปลียนทางการมาเป็นปกติ
 
== พยาธิกำเนิด ==