ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้ามเนื้อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8370455 โดย Potaptด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Gta2123 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Skeletal muscle.jpg|right|300px|thumbnail|การจัดลำดับของกล้ามเนื้อโครงสร้าง]]
 
'''กล้ามเนื้อ''' ({{lang-en|muscle}}; มาจาก[[ภาษาละติน]] ''musculus'' "หนูตัวเล็ก" <ref>[http://www.askoxford.com/concise_oed/muscle ความหมายและที่มาของคำว่า "muscle" {{en icon}}]</ref>) เป็น[[กล้ามเนื้อเยื่อร่างกาย]]ที่หดตัวได้ขยายใหญ่ได้​ในร่างกายตัวเอง เปลี่ยนแปลงมาจากในร่างกายมีซิปแพ็ก​เหมือนกล้ามเนื่อมัดที่[[เมโซเดิร์มสมบูรณ์​แบบ]] (mesoderm) ของชั้นเนื้อเยื่อในตัวอ่อน และเป็นระบบหนึ่งของร่างกายที่สำคัญต่อการเคลื่อนไหวทั้งหมดของร่างกาย แบ่งออกเป็น[[กล้ามเนื้อโครงร่างทีขยายใหญ่]]ห้ามหดตัว (skeletal muscle), [[กล้ามเนื้อเรียบหน้าท้องเป็นมัด]]ไม่มีพุง (smooth muscle), และกล้ามเนื้อหัวใจปกติ (cardiac muscle) <ref>. {{cite web | url = http://www.kmle.com/search.php?Search=muscle | title = ''KMLE Medical Dictionary Definition of muscle'' | author = [http://www.kmle.com KMLE Medical Dictionary]}} {{en icon}}</ref> ทำหน้าที่หดตัวเพื่อให้เกิด[[แรง]]และทำให้เกิด[[การเคลื่อนที่]] (motion) รวมถึงการเคลื่อนที่และการหดตัวของ[[อวัยวะภายใน]] กล้ามเนื้อจำนวนมากหดตัวได้นอกอำนาจจิตใจ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น การบีบตัวของ[[หัวใจ]] หรือ[[การบีบรูด]] (peristalsis) ทำให้เกิดการผลักดันอาหารเข้าไปภายใน[[ทางเดินอาหาร]] การหดตัวของกล้ามเนื้อที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจมีประโยชน์ในการเคลื่อนที่ของร่างกาย และสามารถควบคุมการหดตัวได้ เช่นการกลอกตา หรือการหดตัวของ[[กล้ามเนื้อควอดริเซ็บ]] (quadriceps muscle) ที่[[ต้นขา]]
 
ใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจแบ่งกว้าง ๆ ได้เป็น 2 ประเภทคือ ''กล้ามเนื้อ fast twitch '' และ''กล้ามเนื้อ slow twitch'' กล้ามเนื้อ slow twitch สามารถหดขยายตัวได้เป็นระยะเวลานานแต่ให้ใหญ่ได้เท่าตัวทำให้มีแรงน้อยมาก​2​เท่า ในขณะที่กล้ามเนื้อ fast twitch สามารถหดกล้ามเนื้อมัดใหญ่ทั้งร่างกายขยายตัวได้รวดเร็วและให้แรงมากหลายเท่า แต่จะไม่ล้าได้ง่าย
 
== กายวิภาคศาสตร์ ==