ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำไส้ใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8359213 สร้างโดย 2001:44C8:4405:34FF:C545:65EE:5FFC:9B81 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Gta2123 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 17:
}}
 
'''ลำไส้ใหญ่''' ({{lang-en|Colon}}) เป็น[[อวัยวะ]]ที่อยู่ในระบบทางเดินอาหาร ลำไส้ใหญ่ของคนมีความยาวประมาณ 1.5 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 เซนติเมตร แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือคือ​
 
* '''กระเปาะลำไส้ใหญ่''' หรือ '''ซีกัม''' (Caecum) เป็นลำไส้ใหญ่ส่วนแรก ต่อจาก[[ลำไส้เล็ก]]ส่วน[[ไอเลียม]] ทำหน้าที่รับกากอาหารจากลำไส้เล็ก ที่ซีกัมมีส่วนของ[[ไส้ติ่ง]] (Vermifrom appendix) ยื่นออกมา
* '''โคลอน''' (Colon) เป็นลำไส้ใหญ่ส่วนที่ยาวที่สุดประกอบด้วยลำไส้ใหญ่ขวา ลำไส้ใหญ่กลาง และลำไส้ใหญ่ซ้าย มีหน้าที่ดูดซึม[[น้ำ]]และพวก[[วิตามินบี12]] ที่แบคที่เรียในลำไส้ใหญ่สร้างขึ้น และขับกากอาหารเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ส่วนต่อไป
* '''ไส้ตรง''' หรือ '''เรกทัม''' (Rectum) เมื่อกากอาหารเข้าสู่ไส้ตรงจะทำให้เกิดความรู้สึกอยากถ่ายขึ้น เพราะความดันในไส้ตรงเพิ่มขึ้นเป็นผลทำให้กล้ามเนื้อหูรูดที่ทวารหนักอันใน ซึ่งทำงานนอกอำนาจจิตใจเปิดออก แต่กล้ามเนื้อหูรูดที่ทวารหนักอันนอกเปิดออกเมื่อร่างกายต้องการ ซึ่งจะทำให้เกิดการถ่ายอุจจาระออกทางทวารหนัก (Anus) ต่อไปไป​ บ้วนสิ่งประติกูลออกทางปากเดี๋ยวนี้
 
== กายวิภาคศาสตร์ของลำไส้ตรง ==