ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุปสงค์และอุปทาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Supply-demand-equilibrium.svg|thumb|แผนภูมิเส้นแสดงอุปสงค์และอุปทานที่พบเห็นทั่วไป ให้แกนตั้งแสดงราคาและแกนนอนแสดงปริมาณสินค้า เส้นอุปสงค์ (สีแดง) มีลักษณะลาดลง ในขณะที่เส้นอุปทาน (สีน้ำเงิน) ชันขึ้น จุดตัดของเส้นอุปสงค์และเส้นอุปทาน เป็นจุดดุลยภาพของตลาด ที่ราคาดุลยภาพ P* และปริมาณดุลยภาพ Q*]]
ในทาง[[เศรษฐศาสตร์]] '''อุปสงค์และอุปทาน''' ({{lang-en|demand and supply}}) เป็น[[โมเดลทางเศรษฐศาสตร์|แบบจำลอง]]พื้นฐานที่อธิบายความสัมพันธ์ของผู้ซื้อและผู้ขายสินค้าใน[[ตลาดแข่งขันสมบูรณ์|ตลาดที่มีการแข่งขัน]] '''อุปสงค์''' ({{Lang-en|demand}}) หมายถึง ความต้องการซื้อสินค้าและบริการ<ref>Bannock G., R.E. Baxter, and R. Rees. (1985), "Demand". ''The Penguin Dictionary of Economics'', 3rd ed. Harmondsworth: Penguin Books Ltd, 114. ISBN 0-14-051134-2. {{en icon}}</ref> ในขณะที่'''อุปทาน''' (supply) หมายถึง ความต้องการขายสินค้าและบริการ<ref>Bannock G., R.E. Baxter, and R. Rees. (1985), "Supply". ''The Penguin Dictionary of Economics'', 3rd ed. Harmondsworth: Penguin Books Ltd, 420. ISBN 0-14-051134-2. {{en icon}}</ref> ในแบบจำลองนี้ อุปสงค์และอุปทานเป็นตัวแปรที่กำหนดปริมาณและ[[ราคา]]ของ[[สินค้า]]ที่ซื้อขายกันในตลาด<ref>Mankiw, N.G. (2004). ''Principles of Economics'', 3rd ed. Mason, Ohio : Thomson/South-Western, 63. ISBN 0-324-16862-4 {{en icon}}</ref> โดยตลาดอยู่ในภาวะสมดุลถ้าปริมาณอุปสงค์เท่ากับปริมาณอุปทาน
 
== อุปสงค์และอุปทานและจุดสมดุล ==
[[ไฟล์:Supply-demand-equilibrium-th.svg|thumb|แผนภูมิเส้นแสดงอุปสงค์และอุปทานที่พบเห็นทั่วไป ให้แกนตั้งแสดงราคาและแกนนอนแสดงปริมาณสินค้า เส้นอุปสงค์ (สีแดง) มีลักษณะลาดลง ในขณะที่เส้นอุปทาน (สีน้ำเงิน) ชันขึ้น จุดตัดของเส้นอุปสงค์และเส้นอุปทาน เป็นจุดดุลยภาพของตลาด ที่ราคาดุลยภาพ P* และปริมาณดุลยภาพ Q*]]
อุปสงค์ หมายถึงความต้องการซื้อสินค้าของผู้บริโภคที่แต่ละราคา ทั้งนี้ คำว่าอุปสงค์มักหมายความถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความต้องการซื้อกับราคา หากว่ากล่าวถึงปริมาณความต้องการซื้อที่ราคาหนึ่งโดยเฉพาะ จะเรียกว่าปริมาณอุปสงค์ อุปสงค์สามารถเขียนออกมาในลักษณะ[[ฟังก์ชัน]]ทางคณิตศาสตร์ โดยให้ปริมาณความต้องการซื้อเป็นฟังก์ชันของราคา เรียกว่าฟังก์ชันอุปสงค์ และแสดงได้ในรูปแบบของแผนภูมิเส้น โดยให้แกนตั้งหมายถึงราคา และแกนนอนหมายถึงปริมาณ ในลักษณะเดียวกัน อุปทานหมายถึงความต้องการขายสินค้าของผู้ผลิตที่แต่ละราคา โดยที่ปริมาณความต้องการขายเป็นฟังก์ชันของราคา ปริมาณความต้องการขายที่ราคาหนึ่งโดยเฉพาะเรียกว่าปริมาณอุปทาน ฟังก์ชันอุปทานสามารถเขียนออกมาในรูปแบบของแผนภูมิเส้นเช่นเดียวกัน{{r|OpenStax 3.1}} แนวคิดอุปสงค์และอุปทานในลักษณะที่เป็นฟังก์ชันของราคานี้ ตั้งอยู่บนข้อสมมติว่าผู้บริโภคและผู้ผลิตตอบสนองต่อราคาตลาดโดยไม่มีอำนาจในการกำหนดราคาได้ ซึ่งเป็นข้อสมมติหนึ่งของ[[ตลาดแข่งขันสมบูรณ์]]{{r|Core 8.2}}
แนวคิดอุปสงค์และอุปทาน ตั้งอยู่บนข้อสมมติว่าผู้บริโภคและผู้ผลิตตอบสนองต่อราคาในตลาด โดยที่ตัวผู้ซื้อและผู้ขายไม่สามารถต่อรองราคาหรือมีอำนาจในการกำหนดราคาตลาดได้เอง ข้อสมมตินี้เป็นส่วนหนึ่งของแนวคิด[[ตลาดแข่งขันสมบูรณ์]] ซึ่งเป็นตลาดที่มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมากทำให้ผู้ซื้อและผู้ขายแต่ละรายไม่มีอำนาจในการต่อรองราคา{{r|Core 8.2}}
 
โดยทั่วไปแล้ว ปริมาณอุปสงค์จะมีความสัมพันธ์เชิงลบสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการซื้อนั้นขึ้นอยู่กับราคาของสินค้า นั่นคือและปัจจัยอื่นๆ เช่น รายได้ รสนิยมของผู้บริโภค เป็นต้น หากสมมติว่าราคาตลาดของสินค้าชนิดหนึ่งสูงขึ้นโดยที่ปัจจัยอื่นๆ คงที่เหล่านี้ไม่เปลี่ยนแปลง ปริมาณความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสินค้าที่ต้องการซื้อสินค้าชนิดกับราคานั้นจะลดลง ความสัมพันธ์นี้เรียกว่า กฎอุปสงค์ (lawซึ่งสามารถเขียนออกมาในลักษณะ[[ฟังก์ชัน]]ทางคณิตศาสตร์โดยให้ปริมาณความต้องการซื้อเป็นฟังก์ชันของราคา ofและมักจะวาดออกมาในรูปแบบของ[[แผนภูมิเส้น]] demand)การวาดแผนภูมิอุปสงค์มักให้แกนตั้งหมายถึงราคาและแกนนอนหมายถึงปริมาณ ในทางกลับกันโดยทั่วไปแล้ว ปริมาณอุปทานมักความต้องการซื้อสินค้าแต่ละชนิดจะมีความสัมพันธ์เชิงบวกลบกับราคา นั่นคือ หากว่าราคาตลาดของสินค้าชนิดหนึ่งสูงขึ้นโดยที่ปัจจัยอื่นๆ คงที่ไม่เปลี่ยนแปลง ปริมาณความต้องการขายซื้อสินค้าชนิดนั้นจะเพิ่มขึ้นลดลง ความสัมพันธ์เชิงลบนี้เรียกว่ากฎอุปทานอุปสงค์ (law of supplydemand) สามารถเขียนออกมาในรูปแผนภูมิเส้นได้เป็นเส้นที่มีลักษณะความชันลาดลง{{r|OpenStax 3.1}}
 
ในลักษณะเดียวกัน อุปทานหมายถึงความต้องการขายสินค้าของผู้ผลิตที่ราคาแต่ละระดับ โดยที่ปริมาณความต้องการขายเป็นฟังก์ชันของราคา ฟังก์ชันอุปทานสามารถเขียนออกมาในรูปแบบของแผนภูมิเส้นเช่นเดียวกัน ปริมาณอุปทานมักมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับราคา นั่นคือ หากราคาตลาดของสินค้าชนิดหนึ่งสูงขึ้นโดยที่ปัจจัยอื่นๆ คงที่ ปริมาณความต้องการขายสินค้าชนิดนั้นจะเพิ่มขึ้น เรียกว่ากฎอุปทาน (law of supply) สามารถเขียนออกมาในรูปแผนภูมิเส้นได้เป็นเส้นที่มีลักษณะความชันขึ้น{{r|OpenStax 3.1}}
แม้ว่าโดยทั่วไปเส้นกราฟอุปทานจะมีลักษณะชันขึ้น อย่างไรก็ตาม มีบางกรณีที่เส้นกราฟอุปทานที่ว่ากันว่าแบบสมมติฐาน ตัวอย่างของข้อยกเว้นนี้ได้แก่ เส้นกราฟอุปทานของแรงงานที่มีลักษณะของการโน้มกลับ กล่าวคือ เมื่ออัตราค่าแรงเพิ่มขึ้น คนงานคนหนึ่งก็พร้อมจะทำงานเป็นจำนวนชั่วโมงที่มากขึ้น แต่เมื่ออัตราค่าแรงขึ้นถึงจุดที่สูงมากๆ คนงานอาจพบกับเลือกทำงานน้อยลงและใช้เวลาว่างมากขึ้น<ref>กราฟของแรงงานที่มีลักษณะโน้มกลับนี้อธิบายเพียงอุปทานส่วนบุคคลของคนงาน [http://vdo.kku.ac.th/mediacenter/mediacenter-uploads/libs/html/1273/les2_2_5.htm]</ref> การวกกลับของเส้นกราฟอุปทานยังปรากฏในตลาดอื่นด้วย เช่นในตลาดน้ำมัน ประเทศที่ส่งออกน้ำมันหลายประเทศลดการผลิตน้ำมันหลังจากราคาพุ่งสูงขึ้นในวิกฤตการณ์น้ำมันปี พ.ศ. 2520<ref>{{cite book|last=Samuelson|first=Paul A|coauthors=William D. Nordhaus|title=Economics|edition=17th edition|year=2001|publisher=McGraw-Hill|pages=157}} ISBN 0-07-231488-5 {{en icon}}</ref>
 
แบบจำลองอุปสงค์และอุปทานอธิบายว่าอุปสงค์และอุปทานเป็นปัจจัยที่กำหนดราคาของสินค้าในตลาด โดยใช้แนวคิดของจุดสมดุล (equilibrium) จุดสมดุลในแบบจำลองนี้คือภาวะที่ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าเท่ากับปริมาณความต้องการขายสินค้า ราคาสินค้าที่ทำให้ปริมาณความต้องการซื้อเท่ากับปริมาณความต้องการขายนี้เรียกว่าราคาสมดุล และปริมาณสินค้าที่ซื้อขายในจุดสมดุลเรียกว่าปริมาณสมดุล ในแผนภูมิเส้นที่แสดงอุปสงค์และอุปทาน จุดสมดุลคือจุดที่เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานตัดกัน หากปริมาณอุปสงค์มากกว่าปริมาณอุปทาน ซึ่งเกิดเมื่อราคาสินค้าต่ำกว่าราคาดุลยภาพของสินค้านั้น จะเกิดการขาดแคลนสินค้า หรือเรียกว่ามีอุปสงค์ส่วนเกิน ในขณะที่เมื่อปริมาณอุปทานมากกว่าปริมาณอุปสงค์ คือเมื่อราคาสินค้าสูงกว่าราคาดุลยภาพ จะเกิดสินค้าล้นตลาด หรืออุปทานส่วนเกิน โดยเมื่อเกิดกรณีเหล่านี้ ผู้ซื้อและผู้ขายในตลาดจะตอบสนองจนกระทั่งตลาดเข้าสู่ดุลยภาพต่อเนื่องกัน หากปริมาณอุปสงค์มากกว่าปริมาณอุปทาน ซึ่งเกิดเมื่อราคาสินค้าต่ำกว่าราคาสมดุลของสินค้านั้น จะเกิดการขาดแคลนสินค้าหรือเรียกว่ามีอุปสงค์ส่วนเกิน ในขณะที่เมื่อปริมาณอุปทานมากกว่าปริมาณอุปสงค์ คือเมื่อราคาสินค้าสูงกว่าราคาสมดุล จะเกิดสินค้าล้นตลาด หรืออุปทานส่วนเกิน โดยเมื่อเกิดกรณีเหล่านี้ ผู้ซื้อและผู้ขายในตลาดจะตอบสนองจนกระทั่งตลาดเข้าสู่ดุลยภาพต่อเนื่องกัน
== ความสัมพันธ์ของอุปสงค์และอุปทาน ==
โมเดลของอุปสงค์และอุปทาน อธิบายว่า ตลาดมีแนวโน้มที่จะเข้าสู่[[ดุลยภาพทางเศรษฐศาสตร์|ดุลยภาพ]] (equilibrium) ซึ่งปริมาณอุปสงค์และปริมาณอุปทานจะเท่ากัน เรียกราคาที่ภาวะดุลยภาพว่า ราคาดุลยภาพ และปริมาณสินค้าที่ภาวะนี้ว่า ปริมาณดุลยภาพ หากปริมาณอุปสงค์มากกว่าปริมาณอุปทาน ซึ่งเกิดเมื่อราคาสินค้าต่ำกว่าราคาดุลยภาพของสินค้านั้น จะเกิดการขาดแคลนสินค้า หรือเรียกว่ามีอุปสงค์ส่วนเกิน ในขณะที่เมื่อปริมาณอุปทานมากกว่าปริมาณอุปสงค์ คือเมื่อราคาสินค้าสูงกว่าราคาดุลยภาพ จะเกิดสินค้าล้นตลาด หรืออุปทานส่วนเกิน โดยเมื่อเกิดกรณีเหล่านี้ ผู้ซื้อและผู้ขายในตลาดจะตอบสนองจนกระทั่งตลาดเข้าสู่ดุลยภาพต่อเนื่องกัน
 
ในการแสดงด้วยแผนภูมิ ดุลยภาพคือจุดที่เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานตัดกัน
 
== การเปลี่ยนแปลงอุปสงค์และอุปทาน ==
[[ไฟล์:Supply-and-demand.svg|thumb|right|เส้นอุปสงค์มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจาก D<sub>1</sub> ไปยัง D<sub>2</sub> ส่งผลให้เกิดจุดดุลยภาพใหม่ ราคาดุลยภาพเพิ่มขึ้นจาก P<sub>1</sub> เป็น P<sub>2</sub> และปริมาณดุลยภาพเพิ่มขึ้นจาก Q<sub>1</sub> เป็น Q<sub>2</sub>]]
กฎแผนภูมิเส้นของอุปสงค์และกฎอุปทาน อธิบายถึงแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณกับราคาและปริมาณสินค้า เมื่อโดยที่ปัจจัยอื่นๆ คงที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง หากว่าปัจจัยอื่นเกิดความเปลี่ยนแปลงอื่นๆ จะเกิดมีการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์หรืออุปทาน คือปริมาณอุปสงค์หรือปริมาณอุปทานจะเช่น ผู้บริโภคมีการเพิ่มรายได้มากขึ้น หรือต้นทุนการผลิตสินค้าลดต่ำลงที่ทุกระดับราคา แสดงในแผนภูมิความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้นำเสนอออกมาในลักษณะรูปของการเปลี่ยนแปลงเปลี่ยนเส้นอุปสงค์หรือเส้นอุปทานทั้งเส้นเป็นเส้นใหม่ นั่นคือ ปริมาณความต้องการซื้อหรือความต้องการขายมีการเปลี่ยนแปลงที่ทุกๆ ระดับราคา{{r|OpenStax 3.2}}
 
ปัจจัยหนึ่งที่สามารถส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์คือรายได้ของผู้บริโภค หากว่าผู้บริโภคต้องการซื้อชนิดหนึ่งมากขึ้นเมื่อมีรายได้มากขึ้น สินค้าชนิดนั้นเรียกว่าเป็น[[สินค้าปกติ]] แต่หากว่าผู้บริโภคต้องการซื้อสินค้าชนิดหนึ่งน้อยลงเมื่อมีรายได้มากขึ้นแล้ว สินค้าชนิดนั้นจะเรียกว่าเป็น[[สินค้าด้อย]]{{r|OpenStax 3.2}}
 
== ความยืดหยุ่น ==
ความเปลี่ยนแปลงของปริมาณความต้องการซื้อหรือความต้องการขายเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนนั้นสามารถแตกต่างกันไปได้ระหว่างสินค้าแต่ละชนิด ความยืดหยุ่นของอุปสงค์เป็น[[อัตราร้อยละ]]ของความเปลี่ยนแปลงของปริมาณความต้องการซื้อหากว่าราคาเปลี่ยนแปลงไปร้อยละ 1{{r|Core L7.8.1}} ความยืดหยุ่นของอุปทานสามารถนิยามได้ในลักษณะเดียวกันโดยเปลี่ยนจากปริมาณความต้องการซื้อเป็นปริมาณความต้องการขาย
 
หากกำหนดให้ <math>Q</math> หมายถึงปริมาณสินค้า <math>P</math> หมายถึงราคาสินค้า และ <math>\Delta Q</math> กับ <math>\Delta P</math> หมายถึงความเปลี่ยนแปลงของปริมาณกับราคาตามลำดับ อัตราส่วนของความเปลี่ยนแปลงปริมาณสามารถเขียนได้ว่า <math>\Delta Q / Q</math> ในขณะที่อัตราส่วนความเปลี่ยนแปลงราคาสามารถเขียนได้ว่า <math>\Delta P / P</math> นิยามของความยืดหยุ่น (<math>\epsilon</math>) จึงสามารถเขียนออกมาได้ว่า
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์สำคัญที่มักกล่าวถึงได้แก่ รายได้ ราคาของสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง รสนิยม ความคาดหวัง จำนวนผู้ซื้อ ในขณะที่ปัจจัยที่กำหนด
<math display="block"> \epsilon = \frac{\Delta Q / Q}{\Delta P / P} = \frac{\Delta Q}{\Delta P} \times \frac{P}{Q}</math>
หากว่าเราพิจารณา[[ลิมิต]]เมื่อ <math>\Delta P</math> เข้าใกล้ศูนย์ นิยามของความยืดหยุ่นสามารถเขียนได้ในรูปแบบทาง[[แคลคูลัส]]ว่า{{r|Core L7.8.1}}
<math display="block"> \epsilon = \frac{\mathrm{d} Q}{\mathrm{d} P} \times \frac{P}{Q} </math>
 
หากว่าอุปสงค์ของสินค้าเป็นไปตามกฎอุปสงค์แล้ว ความยืดหยุ่นของอุปสงค์จะมีค่าเป็นจำนวนลบ โดยทั่วไปนักเศรษฐศาสตร์จึงมักเขียนค่าความยืดหยุ่นอุปสงค์โดยละเครื่องหมายลบไว้ โดยเขียนความยืดหยุ่นอุปสงค์ในรูปของ[[ค่าสัมบูรณ์]]{{r|OpenStax 5.1}}
สิ่งที่สำคัญอย่างหนึ่งในหลักการของอุปสงค์และอุปทานได้แก่[[ความยืดหยุ่น (เศรษฐศาสตร์)|ความยืดหยุ่น]] (elasticity) ในทฤษฏีของอุปสงค์และอุปทาน ความยืดหยุ่นคือการวัดการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์หรืออุปทานต่อปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์หรืออุปทาน การศึกษาความยืดหยุ่นที่มักนำมาพิจารณาคือความยืดหยุ่นต่อราคา ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์หรืออุปทานที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของราคา
 
== อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง|refs=
<ref name="OpenStax 3.1">{{cite web |url=https http://opentextbccnx.caorg/principlesofeconomicscontents/chapter/3802ecf92-1b493-demand466e-supplyaadc-and-equilibrium-in-markets-for-goods-and-services/464b507ee9fa@10 |title= 3.1 Demand, Supply, and Equilibrium in Markets for Goods and Services |author= OpenStax Economics |date=20162019-0503-1813 |work= Principles of Economics |edition=2 |publisher= OpenStax CNX |accessdate=2019-0607-1201}}</ref>
<ref name="CoreOpenStax 83.2">{{cite web |url=https http://core-econcnx.org/the-economycontents/book/text/08.html#82c952ee10-the1123-market4c25-and8a8e-the-equilibrium-price8ed2d67eae32@12. |title= 8.2 The market and the equilibrium price |date=2017 |work=The Economy |publisher= CORE |accessdate=2019-06-12}}</ref>
3.2 Shifts in Demand and Supply for Goods and Services |author= OpenStax |date=2019-03-13 |work= Principles of Economics |edition=2 |publisher= OpenStax CNX |accessdate=2019-07-01}}</ref>
}}
<ref name="OpenStax 5.1">{{cite web |url= http://cnx.org/contents/129371f3-7e39-48f5-b917-c2387ed707b0@6 |title= 5.1 Price Elasticity of Demand and Price Elasticity of Supply |author= OpenStax |date=2019-03-13 |work= Principles of Economics |edition=2 |publisher= OpenStax CNX |accessdate=2019-07-01}}</ref>
<ref name="Core 8.2">{{cite web |url=https://core-econ.org/the-economy/book/text/08.html#82-the-market-and-the-equilibrium-price |title= 8.2 The market and the equilibrium price |date=2017 |work=The Economy |publisher= CORE |accessdate=2019-07-01}}</ref>
<ref name="Core L7.8.1">{{cite web |url=https://core-econ.org/the-economy/book/text/leibniz-07-08-01.html |title= Leibniz 7.8.1 The elasticity of demand |date=2017 |work=The Economy |publisher= CORE |accessdate=2019-07-01}}</ref>}}
 
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีของผู้บริโภค]]
[[หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์จุลภาค]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์เศรษฐศาสตร์]]
{{โครงเศรษฐศาสตร์}}