ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ใช้ชื่อทางการแบบย่อ
ICBM456 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเรื่องชาวจีนร้องเพลงสรรเสริญถวายอาลัย 100 วัน
บรรทัด 197:
 
รัฐบาลประกาศให้สถานที่ราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐและสถานศึกษาทุกแห่ง ลดธงครึ่งเสา 30 วัน และให้ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่รัฐไว้ทุกข์ 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/234/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสวรรคต],ราชกิจจานุเบกษา, เข้าถึงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559</ref> คณะรัฐมนตรีมีมติกำหนดให้วันที่ 13 ตุลาคมของทุกปีเป็นวันหยุดราชการ เพื่อให้ประชาชนน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ<ref>[http://soc.soc.go.th/SLK/showlist3.asp?pagecode=148508&pdate=2017/04/12&pno=1&pagegroup=3 การพิจารณากำหนดวันหยุดราชการประจำปีเพิ่ม (นร ๐๕๐๗/ว ๑๗๘)]</ref> มี[[พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ]] ในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560<ref>[http://www.bbc.com/thai/thailand-39703463 ครม.เห็นชอบวันถวายพระเพลิงพระบรมศพในหลวง ร. 9] บีบีซีไทย, เข้าถึงวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2560</ref>
 
วันพุธที่ 25 มกราคม 2560 บริษัท เจียระไนเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด ผู้ผลิตสื่อนิตยสารจีน @Mangu (แอดม่านกู่) ร่วมกับ บริษัท ซีแอนด์จี เอ็นไวรอนเมนทอล โปรเท็คชั่น (ประเทศไทย) จำกัด พร้อมด้วยตัวแทนผู้บริหาร พนักงาน สมาคม องค์กร นักศึกษาและกลุ่มชาวจีนที่ประกอบธุรกิจและอาศัยอยู่ในผืนแผ่นดินไทย รวมใจกันขับร้อง เพลงสรรเสริญพระบารมี ภาษาจีน ในชื่อเพลง "Royal Anthem King Bhumibhol Chinese Language" เพื่อถวายความจงรักภักดีและน้อมแสดงความอาลัยในวาระครบ 100 วัน การเสด็จสู่สวรรคาลัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สุดมิได้ <ref>[https://www.khaosod.co.th/monitor-news/news_195164] [https://music.mthai.com/hotissue/256123.html] [ชาวจีนในประเทศไทยร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีเป็นภาษาจีน ถวายอาลัย 100 วัน เสด็จสวรรค]</ref>
 
ต่อมาในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระบรมราชโองการให้เฉลิมพระปรมาภิไธยพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมชนกนาถขึ้นเป็น '''พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร''' ใน[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=136|issue=15ข|pages=1|title=ประกาศสถาปนา|url=https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/B/015/T_0001.PDF|date=5 พฤษภาคม พ.ศ. 2562|language=ไทย}}</ref> ในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ประกาศ เรื่อง พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย คำอ่าน และสรรพนาม คำขึ้นต้น คำลงท้าย ในการกราบบังคมทูล กราบทูล ได้ระบุพระปรมาภิไธยอย่างย่อไว้ว่า '''พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร'''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=136|issue=177 ง|pages=1|title=ประกาศ เรื่อง พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย คำอ่าน และสรรพนาม คำขึ้นต้น คำลงท้าย ในการกราบบังคมทูล กราบทูล|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/117/T_0001.PDF|date=10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562|language=ไทย}}</ref>