ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นข้างลำตัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกีอังกฤษ
 
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 1:
{{ชื่ออังกฤษ}}
[[ไฟล์:Lateral line 01.JPG |thumb |300x300px |
ในมุมมองรูปมุมเฉียงของ[[ปลาทอง]] (''Carassius auratus'') นี้ สามารถเห็นแสดงรูที่[[เกล็ดปลา]]ซึ่งเป็นส่วนของ lateral line system
]]
 
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
เส้นข้าง, ระบบเส้นข้าง
lateral line, lateral line system
-->
'''lateral line''' เป็นระบบอวัยวะรับความรู้สึก (sense organ system) ของ[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง|สัตว์น้ำมีกระดูกสันหลัง]] ซึ่งใช้ตรวจจับการเคลื่อนไหว แรงสั่น และความแตกต่างของ[[แรงดัน]]ใน[[น้ำ]]รอบ ๆ ตัว
อาศัยเซลล์[[เนื้อเยื่อบุผิว]]ที่แปลงไป ซึ่งเรียกว่า เซลล์ขน และตอบสนองต่อการขยับเหตุการเคลื่อนไหวโดย[[ถ่ายโอนสัญญาณ]]เหล่านี้เป็น[[กระแสประสาท]]
เป็นระบบที่อวัยวะสำคัญในสำหรับพฤติกรรมอยู่เป็นฝูง การล่าเหยื่อ และการรู้ทิศทาง
ยกตัวอย่างเช่น ปลาสามารถใช้ระบบ lateral line เพื่อติดตาม[[กระแสน้ำวน]]ที่เหยื่อซึ่งกำลังหนีสร้าง
lateral line ปกติจะเห็นเป็นเส้นจาง ๆ ประกอบด้วยรู วิ่งไปตามลำตัว ตั้งแต่ที่ปิดเหงือกไปจนถึงโคนหาง
ในสัตว์บาง[[สปีชีส์]] อวัยวะรับความรู้สึกที่ lateral line ได้เปลี่ยนไปทำหน้าที่เป็น[[ตัวรับรู้ไฟฟ้า]] (electroreceptor) ซึ่งสามารถตรวจจับพัลส์ไฟฟ้า ดังนั้น จึงยังเป็นระบบอวัยวะที่ใกล้เคียงคล้าย ๆ กัน
ตัวอ่อน[[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]]โดยมากและที่โตแล้วจะมีระบบรับรู้แรงกลที่เทียบกับ lateral line ได้<ref>{{Cite journal | pmid = 3236259 | title = A lateral line analogue in cephalopods: Water waves generate microphonic potentials in the epidermal head lines of Sepia and Lolliguncula | year = 1988 }}<!-- Budelmann, Bernd U.; Bleckmann, Horst (1988). "A lateral line analogue in cephalopods: Water waves generate microphonic potentials in the epidermal head lines of Sepia and Lolliguncula". Journal of Comparative Physiology A. 164 (1) : 1-5. PMID 3236259. doi:10.1007/BF00612711. --></ref>
 
== เชิงอรรถและอ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง |30em}}
 
{{โครง}}
เส้น 28 ⟶ 23:
[[หมวดหมู่:อวัยวะรับความรู้สึก]]
[[หมวดหมู่:อวัยวะรับความรู้สึกของสัตว์]]
[[en:lateral line]]