ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาฮินดู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 70:
 
ศาสนาฮินดูไม่มีหลักคำสอนหลักกลาง ในขณะเดียวกันชาวฮินดูเองจำนวนมากก็ไม่ได้อ้างว่าเป็นของนิกายหรือประเพณีใด ๆ <ref>{{Harvnb|Werner|2005|pp=13, 45}}</ref> อย่างไรก็ตาม ในงานศึกษาเชิงวิชาการนิยมแบ่งออกเป็น 4 นิกายหลัก ได้แก่ ลัทธิไวษณพ, ลัทธิไศวะ, ลัทธิศักติ และ ลัทธิสมารตะ<ref name=lancenelson>Lance Nelson (2007), An Introductory Dictionary of Theology and Religious Studies (Editors: Orlando O. Espín, James B. Nickoloff), Liturgical Press, {{ISBN|978-0814658567}}, pages 562–563</ref>{{Sfn|Flood|1996|p=113, 134, 155–161, 167–168}} นิกายต่าง ๆ นี้แตกต่างกันหลัก ๆ ที่เทพเจ้าองค์กลางที่บูชา, ธรรมเนียมและมุมมองต่อการ[[Soteriology|หลุดพ้น]]<ref name=sskumar>SS Kumar (2010), Bhakti – the Yoga of Love, LIT Verlag Münster, {{ISBN|978-3643501301}}, pages 35–36</ref> [[Julius J. Lipner]] ได้ระบุไว้ว่าการแบ่งนิกายของศาสนาฮินดูนั้นแตกต่างจากในศาสนาหลักอื่น ๆ ของโลก เพราะนิกายของศาสนาฮินดูนั้นคลุมเครือกับการฝึกฝนของบุคคลมากกว่า เป็นที่มาของคำว่า "Hindu polycentrism" (หลากหลายนิยมฮินดู, ฮินดูตามท้องถิ่น)<ref>[[Julius J. Lipner]] (2009), Hindus: Their Religious Beliefs and Practices, 2nd Edition, Routledge, {{ISBN|978-0-415-45677-7}}, pages 371–375</ref>
[[File:"Panch Dev" (Five Gods), in a Shiva-centric version; bazaar art, c.1910's.jpg|thumb|[[ปัญจยัตนะบูชา|ปัญจเทวะ]] คือเทพเจ้าทั้ง 5 ที่ได้รับการบูชาพร้อมกันใน[[ลัทธิสมารตะ]]]]
 
[[ลัทธิไวษณพ]] บูชา[[พระวิษณุ]]<ref>sometimes with [[Lakshmi]], the spouse of Vishnu; or, as Narayana and Sri; see: Guy Beck (2006), Alternative Krishnas: Regional and Vernacular Variations on a Hindu Deity, State University of New York Press, {{ISBN|978-0791464168}}, page 65 and Chapter 5</ref> และปางอวตารของพระองค์ โดยเฉพาะ [[พระกฤษณะ]] และ [[พระราม]]<ref>{{cite book|author1=Edwin Francis Bryant|author2=Maria Ekstrand|title=The Hare Krishna Movement: The Postcharismatic Fate of a Religious Transplant|url=https://books.google.com/books?id=mBMxPdgrBhoC |year= 2013|publisher=Columbia University Press|isbn=978-0231508438|pages=15–17}}</ref> ลักษณะของนิกายนี้โดยทั่วไป ไม่ใช่ลักษณะนักพรตติดอาราม แต่มุ่งเน้นไปที่กิจกรรมชุมชนและการปฏิบัติที่นับถือศรัทธา ความรักสนุกนี้มีที่มาจากการสื่อนัย ๆ ถึงลักษณะอัน "ขี้เล่น ร่าเริง และสนุกสนาน" ของพระกฤษณะรวมถึงอวตารองค์อื่น ๆ<ref name=sskumar/> พิธีกรรมและการปฏิบัติจึงมักเต็มไปด้วยการระบำในชุมชน, ขับร้องดนตรี ทั้ง [[กีรตัน]] (Kirtan) และ [[ภชัน]] (Bhajan) โดยเชื่อกันว่าเสียงและดนตรีเหล่านี้จะมีพลังในการช่วยทำสมาธิและมีพลังอำนาจเชิงความเชื่อ<ref name=edwinb>Edwin Bryant and Maria Ekstrand (2004), The Hare Krishna Movement, Columbia University Press, {{ISBN|978-0231122566}}, pages 38–43</ref> การเฉลิมฉลองและพิธีกรรมในศาสนสถานของไวษณพมักมีความประณีต ละเอียดลออ<ref>{{cite book|author1=Bruno Nettl|author2=Ruth M. Stone|author3=James Porter |author4=Timothy Rice |title=The Garland Encyclopedia of World Music: South Asia : the Indian subcontinent|url=https://books.google.com/books?id=ZOlNv8MAXIEC |year=1998|publisher=Routledge |isbn=978-0824049461 |pages=246–247}}</ref> ส่วนรากฐานเชิงศาสนศาสตร์ของไวษณพนั้นมาจากภควัทคีตา, รามายณะ และปุราณะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระวิษณุ<ref>Lance Nelson (2007), An Introductory Dictionary of Theology and Religious Studies (Editors: Orlando O. Espín, James B. Nickoloff), Liturgical Press, {{ISBN|978-0814658567}}, pages 1441, 376</ref>