ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาฮินดู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Oum.svg|thumb|สัญลักษณ์ “[[โอม]]” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระ[[ตรีมูรติ]] เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3]] หรือ '''สนาตนธรรม''' เป็น[[ศาสนา]]แบบ[[พหุเทวนิยม]]ที่พัฒนาการต่อมาจาก[[ศาสนาพราหมณ์]] จึงมักเรียกรวมกันว่า'''ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู''' ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็น[[ศาสดา]] มี[[พระเวท]]เป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน<ref>[https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/in.html]</ref> <ref>{{cite web|url=http://www.adherents.com/Religions_By_Adherents.html |title=Major Religions of the World Ranked by Number of Adherents |accessdate=2007-07-10 |work= |publisher=Adherents.com }}</ref>
 
'''ศาสนาฮินดู''' หรือในเอกสารภาษาไทยนิยมใช้คำว่า '''ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู''' เป็นศาสนาหนึ่งในกลุ่ม[[ศาสนาอินเดีย]] และเป็น[[ธรรมะ]]หรือแนวทางการใช้ชีวิตของผู้คน{{refn|group=note|name="definition"}} ที่เป็นที่นับถืออย่างแพร่หลายใน[[อนุทวีปอินเดีย]] และบางส่วนในเอเชียอาคเนย์ โดยเฉพาะบน[[เกาะบาหลี]] เป็นที่ยอมรับกันทั้วไปว่าษ่านาฮินดูเป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก{{refn|group=note|See:
ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่ง ๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "[[ตรีมูรติ]]" คือ
* Fowler: "probably the oldest religion in the world" ({{harvnb|Fowler|1997|p=1}})
*[[พระพรหม]]<ref>[http://horoscope.thaiza.com/พระพรหม/118794/ พระพรหม]</ref> ซึ่งเป็น[[พระผู้สร้าง]][[โลก]]
* Klostermaier: The "oldest living major religion" in the world ({{harvnb|Klostermaier|2007|p=1}})
*[[พระศิวะ]] เป็นผู้ทำลาย
* Kurien: "There are almost a billion Hindus living on Earth. They practice the world's oldest religion..." <ref>{{cite journal |last=Kurien |first=Prema |title= Multiculturalism and American Religion: The Case of Hindu Indian Americans |journal=Social Forces |volume=85 |issue=2 |year=2006 |pages= 723–741 |doi= 10.1353/sof.2007.0015 }}</ref>
*[[พระนารายณ์]] เป็นผู้ปกป้องและรักษาโลก
* Bakker: "it [Hinduism] is the oldest religion".<ref>{{cite journal |first= F.L. |last= Bakker |title= Balinese Hinduism and the Indonesian State: Recent Developments |journal= Bijdragen Tot de Taal-, Land- en Volkenkunde |year=1997 |volume=Deel 153, 1ste Afl. |issue= 1 |pages= 15–41 |jstor= 27864809|doi= 10.1163/22134379-90003943 }}</ref>
* Noble: "Hinduism, the world's oldest surviving religion, continues to provide the framework for daily life in much of South Asia."<ref>{{cite journal |last=Noble |first= Allen |title= South Asian Sacred Places |journal= Journal of Cultural Geography |volume=17 |issue=2 |year=1998 |pages=1–3 |doi= 10.1080/08873639809478317 }}</ref>}} ศาสนิกชนและนักวิชาการบางกลุ่มเรียกศาสนาฮินดูว่าเป็น "[[สนาตนธรรม]]" หรือหนทางนิรันดร์ชั่วประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ{{sfn|Knott|1998|pp=5, Quote: "Many describe Hinduism as ''sanatana dharma'', the eternal tradition or religion. This refers to the idea that its origins lie beyond human history"}}<ref>{{harvnb|Bowker|2000}}; {{harvnb|Harvey|2001|p=xiii}};</ref> นักวิชาการมักมองศาสนาฮินดูว่าเป็นการผสมผสานของ{{refn|group=note|name=Lockard}} หรือสังเคราะห์มาจาก{{sfn|Samuel|2010|p=193}}{{refn|group=note|name= "Hiltebeitel-synthesis"}} วัฒนธรรม จารีต และประเพณีอันหลากหลายในอนุทวีปอินเดีย<ref name="Hiltebeitel 2007 12">{{harvnb|Hiltebeitel|2007|p=12}}; {{harvnb|Flood|1996|p=16}}; {{harvnb|Lockard|2007|p=50}}</ref>{{refn|group=note|name= fusion}} ที่มีรากฐานหลากหลาย{{sfn|Narayanan|2009|p=11}}{{refn|group=note| Among its roots are the [[Historical Vedic religion|Vedic religion]] of the late [[Vedic period]] ({{harvnb|Flood|1996|p=16}}) and its emphasis on the status of Brahmans ({{harvnb|Samuel|2010|pp=48–53}}), but also the religions of the [[Indus Valley Civilisation]] ({{harvnb|Narayanan| 2009|p=11}}; {{harvnb|Lockard|2007|p=52}}; {{harvnb|Hiltebeitel|2007|p=3}}; {{harvnb|Jones|Ryan|2006|p=xviii}}) the [[Sramana]] or renouncer traditions of [[Maurya Empire|north-east India]] ({{harvnb|Flood|1996|p=16}}; {{harvnb|Gomez|2013|p=42}}), with possible roots in a non-Vedic Indo-European culture ({{harvnb|Brokhorst|2007}}), and "popular or [[Adivasi|local traditions]]" ({{harvnb|Flood|1996|p=16}}).}} และไม่มี[[ศาสดา]]หรือผู้ริเริ่มตั้งศาสนา{{sfn|Fowler|1997|pp=1, 7}} "การสังเคราะห์ศาสนาฮินดู" (Hindu synthesis) นี้เริ่มมีขึ้นระหว่างราว 500 ปีก่อนคริสต์กาล ถึงคริสต์ศักราช 300{{sfn|Hiltebeitel|2007|p=12}} ภายหลังการสิ้นสุดลงของ[[ยุคพระเวท]] (1500 ถึง 500 ก่อนคริสต์กาล),{{sfn|Hiltebeitel|2007|p=12}}{{sfn|Larson|2009}} และเจริญรุ่งเรืองใน[[อินเดียยุคกลาง|ยุคกลางของอินเดีย]]ไปพร้อมกับ[[การเสื่อมของศาสนาพุทธในอนุทวีปอินเดีย]]{{sfn|Larson|1995|p=109&ndash;111}}
ถึงแม้ว่าศาสนาฮินดูจะเต็มไปด้วยปรัชญาหลายแขนง แต่ก็สามารถเชื่อมโยงถึงกันผ่านแนวคิดที่มีร่วมกัน, พิธีกรรมที่คล้ายคลึงกัน, [[จักรวาลวิทยาฮินดู]], [[คัมภีร์ฮินดู]] และ [[สถานที่แสวงบุญในศาสนาฮินดู|สถานที่แสวงบุญ]] ส่วนคัมภีร์ของศาสนาฮินดูนั้นจำแนกออกเป็น [[ศรุติ]] (จากการฟัง) และ [[สมรติ]] (จากการจำ) คัมภีร์เหล่านี้มีทั้ง[[ปรัชญาฮินดู]], [[เทพปรณัมฮินดู]], [[พระเวท]], [[โยคะ]], [[พิธีกรรม]], [[อาคม (ศาสนาฮินดู)|อาคมะ]] และการสร้าง[[โบสถ์พราหมณ์]] เป็นต้น{{sfn|Michaels|2004}} คัมภีร์เล่มสำคัญได้แก่ [[พระเวท]], [[อุปนิศัท]], [[ภควัทคีตา]], [[รามายณะ]] และ [[อาคม (ศาสนาฮินดู)|อาคม]]<ref>{{Cite book|title=Hindu Scriptures| last=Zaehner|first=R. C.|publisher= Penguin Random House|year=1992|isbn= 978-0679410782|location=|pages=1–7|quote=|via=}}</ref><ref name=":0">{{Cite book| title= A Survey of Hinduism|last= Klostermaier| first=Klaus|publisher=State University of New York Press|year=2007|isbn=978-0791470824|edition=3rd|location=|pages=46–52, 76–77|quote=|via=}}</ref> ที่มา ผู้ประพันธ์ และความจริงนิรันดร์ในคัมภีร์เหล่านี้ล้วนมีบทบาทสำคัญ แต่ศาสนาฮินดูก็มีแนวคิดหลักสำคัญที่สนับสนุนการตั้งคำถามต่อที่มาและเนื้อความของคัมภีร์เพื่อให้เข้าใจสัจธรรมต่าง ๆ ได้อย่างลึกซึ้ง และสร้างประเพณีหรือแนวคิดต่อยอดในอนาคต<ref name=frazierintrop2>{{cite book|last1=Frazier|first1=Jessica|title=The Continuum companion to Hindu studies | date=2011|publisher= Continuum| location= London|isbn= 978-0-8264-9966-0|pages=1–15}}</ref>
 
ธีมสำคัญกลางในศาสนาฮินดูคือ "[[ปุรุษารถะ]]" ทั้งสี่ อันเป็นจุดมุ่งหมายอันสมควรในชีวิตของมุนษย์ ได้แก่ [[ธรรมะ]] (หน้าที่/จริยธรรม), [[อรรถะ]] (การเจริญเติบโต/หน้าที่การงาน), [[กามะ]] (ประสงค์/แรงจูงใจ) และ [[โมกษะ]] (การหลุดพ้น/การเป็นอิสระจาก[[การเวียนว่ายตายเกิด]])<ref name="Bilimoria 2007 p. 103">{{Cite book|title=Indian Ethics: Classical Traditions and Contemporary Challenges|last=|first=|publisher=|year=2007|isbn=|editor-last=Bilimoria|display-editors=etal|location=|pages= 103|quote=|via=}} See also {{Cite journal|last=Koller|first=John|year=1968|title= Puruṣārtha as Human Aims|url=|journal= Philosophy East and West|volume=18|issue= 4|pages=315–319|via=|doi= 10.2307/1398408|jstor=1398408}}</ref><ref name="Gavin Flood 1997 pages 11">{{Cite book| title=The Bhagavadgītā for Our Times|last=Flood|first= Gavin|publisher=Oxford University Press| year= 1997 |isbn= 978-0195650396|editor-last= Lipner|editor-first=Julius J.|location=|pages= 11–27|chapter=The Meaning and Context of the Puruṣārthas|quote=|via=}}</ref> นอกจากนี้ แนวคิดสำคัญอื่น ๆ ที่พบในศาสนาฮินดูยังรวมถึง [[กรรมะ]] (การกระทำ/ผลของการกระทำ), [[สังสาระ]] (วงจรเวียนว่ายตายเกิด) และ การปฏิบัติ[[โยคะ]] (หนทางสู่โมกษะ) ที่มีอยู่หลากหลายปรัชญา<ref name=":0" />{{sfn|Brodd|2003}} การปฏิบัติในศาสนาฮินดู มีทั้ง [[บูชา (ศาสนาฮินดู)|ปูชา]] (การบูชา), การสวดมนต์และร้องเพลงสวด, [[ชปะ]], การปฏิบัติสมาธิ, [[สังสการ]] (พิธีกรรมเปลี่ยนผ่าน), เทศกาลประจำปีและการออกเดินทางแสวงบุญตามโอกาส ศาสนิกชนบางส่วนละทิ้งชีวิตทางโลกและการยึดติดกับวัตถุ เพื่ออกสู่[[สันยาสี|สันยาสะ]] (ถือพรต/ออกบวช) เพื่อเข้าสู่โมกษะ<ref name=ellinger70>{{cite book|author=Herbert Ellinger |title=Hinduism |url=https://books.google.com/books?id=pk3iAwAAQBAJ |year=1996|publisher= Bloomsbury Academic|isbn= 978-1-56338-161-4 |pages= 69–70 }}</ref> ศาสนาฮินดูยังเน้นย้ำถึงหน้าที่ตลอดกาล เช่น ความกตัญญู ซื่อสัตย์, ไม่ทำร้ายสัตว์และผู้คน ([[อหิงสา]]), การใจเย็น, ความอดทนอดกลั้น, การข่มใจตนเอง และความเมตตา<ref group=web name="EB-sanatana dharma" /><ref>{{Cite book|title=History of Dharmasastra| last=Dharma|first=Samanya|last2=Kane|first2=P. V.|publisher=|year=|isbn=|volume=2|location=|pages=4–5|quote=|via=}} See also {{Cite journal|last=Widgery|first= Alban|year=1930|title=The Priniciples of Hindu Ethics|url=|journal=International Journal of Ethics|volume=40|issue=2|pages=232–245|via=|doi=10.1086/intejethi.40.2.2377977}}</ref> The four largest [[Hindu denominations|denominations]] of Hinduism are the [[Vaishnavism]], [[Shaivism]], [[Shaktism]] and [[Smarta Tradition|Smartism]].<ref>[[Julius J. Lipner]] (2009), Hindus: Their Religious Beliefs and Practices, 2nd Edition, Routledge, {{ISBN|978-0-415-45677-7}}, pages 377, 398</ref>
 
ศาสนาฮินดูถือเป็น[[กลุ่มศาสนาหลัก|ศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในโลก]]เป็นอันดับที่ 3 มีศาสนิกชนซึ่งเรียกว่า [[ชาวฮินดู]] อยู่ราว 1.15 พันล้านคน หรือ 15-16% ของประชากรโลก<ref group= "web">{{cite web|url=http://www.pewforum.org/global-religious-landscape-hindu.aspx|title=The Global Religious Landscape – Hinduism|last=|first=|date=| publisher= Pew Research Foundation|work=A Report on the Size and Distribution of the World's Major Religious Groups {{as of|2010|lc=y}}|accessdate=31 March 2013}}</ref><ref name ="gordonconwell.edu">{{cite web|url=http://www.gordonconwell.edu/resources/documents/1IBMR2015.pdf|title=Christianity 2015: Religious Diversity and Personal Contact|website= gordonconwell.edu|date= January 2015 |accessdate=29 May 2015}}</ref> ศาสนาฮินดูมีผู้นับถือมากที่สุดใน[[ศาสนาในประเทศอินเดีย|อินเดีย]], [[ศาสนาในประเทศเนปาล|เนปาล]] และ [[ศาสนาในประเทศมอริเชียส|มอริเชียส]] นอกจากนี้ยังเป็นศาสนาหลักใน[[จังหวัดบาหลี]] [[ศาสนาในประเทศอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]]เช่นกัน<ref>{{cite web|url=https://sp2010.bps.go.id/index.php/page/warning|title=Peringatan|website=sp2010.bps.go.id}}</ref> Significant numbers of Hindu communities are also found in the [[Caribbean]], [[Southeast Asia]], [[North America]], [[Europe]], [[Africa]], and [[Hinduism by country|other countries]].<ref>{{cite book| first=Steven | last= Vertovec|title=The Hindu Diaspora: Comparative Patterns|url=https://books.google.com/books?id=FRVTAQAAQBAJ |year= 2013|publisher= Routledge|isbn= 978-1-136-36705-2|pages=1–4, 7–8, 63–64, 87–88, 141–143}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.pewforum.org/2012/12/18/global-religious-landscape-hindu/|title=Hindus|date=18 December 2012|work=Pew Research Center's Religion & Public Life Project|accessdate=14 February 2015}};<br/>{{cite web|url=http://features.pewforum.org/grl/population-number.php?sort=numberHindu|title=Table: Religious Composition by Country, in Numbers (2010)|date=18 December 2012|work=Pew Research Center's Religion & Public Life Project|accessdate=14 February 2015|archive-url=https://web.archive.org/web/20130201224548/http://features.pewforum.org/grl/population-number.php?sort=numberHindu|archive-date=1 February 2013|dead-url=yes}}</ref>
 
== ประวัติ ==
{{บทความหลัก|ประวัติศาสนาฮินดู}}
{{อ้างอิงส่วน}}
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ในตอนแรกเริ่มเรียกตัวเองว่า “[[พราหมณ์]]" ต่อมาศาสนาได้เสื่อมความนิยมลงระยะหนึ่งเนื่องจากอิทธิพลของ[[ศาสนาพุทธ]] จนมาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 [[ศังกราจารย์]]ได้ปฏิรูปศาสนาโดยแต่ง[[คัมภีร์]][[เทพเจ้าฮินดู|เทพเจ้า]]ลดความสำคัญของ[[ศาสนาพุทธ]] และนำหลักปฏิบัติรวมทั้งหลักธรรมของ[[ศาสนาพุทธ]][[มหายาน]]บางส่วนมาใช้และฟื้นฟูปรับปรุงศาสนาพราหมณ์เป็นให้เป็นศาสนาฮินดูเนื่องจากหลักธรรมส่วนใหญ่ของ[[ศาสนาพุทธ]]ได้ประยุกต์มาจากศาสนาฮินดูเมื่อครั้งยังเป็นศาสนาพราหมณ์โดยเริ่มจากนิกาย[[เถรวาท]]เมื่อครั้งพุทธกาล จนถึงนิกาย[[มหายาน]] - [[วัชรยาน]] เมื่อ โดยคำว่า “ฮินดู” เป็นคำที่ใช้เรียกชาวอารยันที่อพยพเข้าไปตั้งถิ่นฐานในลุ่ม[[แม่น้ำสินธุ]] และเป็นคำที่ใช้เรียกลูกผสมของ[[ชาวอารยัน]]กับชาวพื้นเมืองใน[[ชมพูทวีป]] และชนพื้นเมืองนี้ได้พัฒนาศาสนาพราหมณ์โดยการเพิ่มเติมเทพเจ้าท้องถิ่นดั้งเดิมลงไป เนื่องจากเวลานั้นสังคมอินเดีย แตกแยกอย่างมากเนื่องจากอิทธิพลของ[[ศาสนาพุทธ|พุทธศาสนา]]ใน[[ประเทศอินเดีย]]ที่มีลักษณะเป็นกึ่ง[[พหุเทวนิยม]] คือนิยมนับถือ[[เทวดา]] ทำให้ทางตอนเหนือนับถือ[[พระศิวะ]]ซึ่งเป็นเทพแห่ง[[เทือกเขาหิมาลัย|ภูเขาหิมาลัย]] ทางตอนใต้ชาวประมงนับถือ[[พระวิษณุ|วิษณุ]]ซึ่งเป็นเทพที่ให้ฝนและพายุ ชาวป่านับถือพระนิรุทธ และตอนกลางนับถือ[[พระพิฆเนศ]] [[ชาวอินเดีย|คนอินเดีย]]เวลานั้นเริ่มไม่นับถือศาสนาพราหมณ์เป็นจำนวนมากขึ้น เมื่อต้องการรวมชาติ เมื่อครั้งขับไล่ราชวงศ์โมกุลของ[[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]]ที่เข้ามายึดครองและสั่งเข่นฆ่า[[พระสงฆ์]][[พระไตรปิฎก|คัมภีร์]]และวัดใน[[ศาสนาพุทธ|พระพุทธศาสนา]]จนแทบสูญสิ้นไปจาก[[ประเทศอินเดีย|อินเดีย]] จึงรวม[[เทพเจ้าฮินดู|เทพเจ้า]]แต่ละท้องถิ่นต่างๆมารวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับศาสนาพราหมณ์ แล้วเรียกศาสนาของใหม่นี้ว่า “ศาสนาฮินดู” เพราะฉะนั้นศาสนาพราหมณ์จึงมีอีก ชื่อในศาสนาใหม่ว่า “ฮินดู” จนถึงปัจจุบันนี้