ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มอีโมจิ
ป้ายระบุ: อิโมจิ การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 31:
}}
 
'''ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ''' (ชื่อเล่น: เอก) เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 [[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25]] [[นักธุรกิจ]] นักเคลื่อนไหวทาง[[การเมือง]]และ[[นักการเมือง]]ชาวไทย อดีตรองประธานกรรมการบริหาร[[กลุ่มบริษัทไทยซัมมิท]]ตั้งแต่ปี 2545 ซึ่งต่อมากลายเป็นบริษัทผู้ผลิตและส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์รายใหญ่อันดับต้นๆ ของประเทศ แต่ภายหลังตัดสินใจเข้าสู่การเมืองเมื่อปี 2561<ref>https://www.bbc.com/thai/thailand-43251942</ref> เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง[[พรรคอนาคตใหม่]] และต่อมาได้รับเลือกจากที่ประชุมใหญ่ผู้จดจัดตั้งพรรค ให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคคนแรก เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 25612561😀
 
== ปฐมวัยและครอบครัว ==
ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจเกิดเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 ที่[[กรุงเทพมหานคร]] มีชื่อเล่นว่า เอก เป็นบุตรคนที่ 2 ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 5 คน ของพัฒนากับ[[สมพร จึงรุ่งเรืองกิจ]] มารดาเป็นประธานบริหารของกลุ่มบริษัทไทยซัมมิท โดยรับสืบทอดตำแหน่งนี้จากสามี พัฒนา จึงรุ่งเรืองกิจ (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2545) บิดาของธนาธร และเป็นผู้ก่อตั้ง[[กลุ่มบริษัทไทยซัมมิท]]😙
 
ธนาธรเปิดเผยบนเวทีประชุมใหญ่ผู้จดจัดตั้งพรรคอนาคตใหม่ว่า เขาเริ่มทำงานครั้งแรกช่วงปิดเทอมชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พ่อและแม่ส่งเขาไปนั่งนับชิ้นส่วนเหล็กในโรงงาน ได้รับค่าแรงวันละ 30 บาทเท่านั้น ขณะที่พี่สาวคนโตต้องฝึกฝนงานส่วนออฟฟิศในโรงงาน ช่วงวัยรุ่นธนาธรเคยทำงานรับจ้างเป็นพนักงานล้างจานเต็มเวลาในร้านอาหารแห่งหนึ่งในสหรัฐ<ref>https://futureforwardparty.org/person/ธนาธร-จึงรุ่งเรืองกิจ</ref>😅
 
ธนาธรจบการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก[[โรงเรียนเซนต์ดอมินิก]] มัธยมจาก[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]]<ref name=":0">[https://mgronline.com/politics/detail/9510000129530 นายทุน “ฟ้าเดียวกัน” เปิดหน้าชก เอาเศรษฐกิจบังหน้า ชู รบ.มือเปื้อนเลือด-ไล่พันธมิตรฯ]</ref> และเข้าศึกษาต่อในภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสองสถาบัน (หลักสูตรนานาชาติ) [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] และ[[มหาวิทยาลัยนอตทิงแฮม]] [[ประเทศอังกฤษ]] ขณะเรียนปริญญาตรีเขาเริ่มสนใจการทำกิจกรรมของนักศึกษา และร่วมทำกิจกรรมต่าง ๆ กับเพื่อนในสถาบันเดียวกันและต่างสถาบันเรื่อยมา<ref name="force">[http://vikingsx.blogspot.com/2010/05/blog-post.html สัมภาษณ์ : ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ รองประธานกรรมการบริหาร กลุ่มบริษัทไทยซัมมิท “ผมถูกบังคับให้เป็นนายทุน”] นิตยสารสารคดี 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2553</ref> จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2542 ธนาธรได้รับเลือกเป็นอุปนายก[[องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] (อมธ.) และในปี พ.ศ. 2543 ได้รับเลือกเป็นรองเลขาธิการสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.)<ref>https://www.sarakadee.com/2007/01/14/thanatorn/</ref>😃
 
สมัยเป็นนักศึกษาธนาธรได้รับการขนานนามว่าเป็น “แอ็กติวิสต์ซ้ายจัด” และเป็นหนึ่งในผู้ออกทุนก่อตั้ง'''[[สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน]]'''เป็นจำนวนสองแสนบาทก่อนเข้าไปบริหารธุรกิจครอบครัวโดยไม่ได้มีส่วนบริหารสำนักพิมพ์หรือให้เงินสนับสนุนเพิ่มเติมอีก<ref name=":0" /><ref>http://www.happyreading.in.th/article/detail.php?id=771</ref>🤣
 
ด้วยความสนใจในบ้านเมืองรวมทั้งแนวคิดและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ เขาจึงตัดสินใจศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขา[[เศรษฐศาสตร์การเมือง]] ที่[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] นอกจากนี้ยังได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทใบที่ 2 สาขา[[การเงินระหว่างประเทศ|การเงินโลก]]ที่มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฮ่องกงและ[[มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก]] และศึกษาต่อปริญญาโทใบที่ 3 สาขา[[กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ]] ที่มหาวิทยาลัยแซงต์ กาลเลิน [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]]<ref>http://www.tcdc.or.th/creativethailand/article/TheCreative/28343</ref><ref>https://futureforwardparty.org/person/ธนาธร-จึงรุ่งเรืองกิจ</ref>😁
 
เมื่อสำเร็จการศึกษา เขาเข้าทำงานในองค์การนอกภาครัฐกลุ่มเพื่อนประชาชน (FOP) ได้พักหนึ่ง แต่เมื่อบิดาเสียชีวิตเขารับมาบริหารธุรกิจของครอบครัว อย่างไรก็ตาม เขายังคงแสดงความเห็นทางการเมืองผ่านสื่ออยู่เป็นระยะ ๆ ทั้งยังเปิดเผยด้วยว่า ตนเองมีความคิดที่จะเล่นการเมือง<ref name=":0" />
 
== การเคลื่อนไหวทางสังคมและความสนใจทางการเมือง ==
ระหว่างที่เรียนอยู่ ณ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] นายธนาธรได้เข้าร่วมเรียกร้องสิทธิเพื่อปกป้อง[[สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย|สิทธิมนุษยชน]] เรียกร้องความเป็นธรรม และยืนหยัดเพื่อความถูกต้องกับผู้คนหลากหลายกลุ่มในหลายสถานการณ์ ในปี พ.ศ. 2543 ขณะร่วมเรียกร้องสิทธิกับกลุ่มสมัชชาคนจน เขาอยู่ร่วมชาวบ้านสมัชชาคนจนตอนที่ปะทะกับเจ้าหน้าที่[[ตำรวจ]]บริเวณหน้า[[ทำเนียบรัฐบาลไทย|ทำเนียบรัฐบาล]]สมัยนายกรัฐมนตรี [[ชวน หลีกภัย]] จนตัวเองได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย<ref name="force" /> เมื่อขึ้นชั้นปีที่ 3 นายธนาธรไปศึกษาต่อที่[[มหาวิทยาลัยนอตทิงแฮม]] [[ประเทศอังกฤษ]] เขาเริ่มศึกษาทฤษฎีของ[[คาร์ล มากซ์]] และ[[วลาดีมีร์ เลนิน]] เขาได้เข้าร่วมกลุ่ม Socialist Worker Student Society ซึ่งเป็นองค์กรจัดตั้งระดับนักศึกษาในอังกฤษ หลังจากธนาธรสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีจาก [[วิศวกรรมศาสตร์|คณะวิศวกรรมศาสตร์]] หลักสูตรนานาชาติ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] และ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [[มหาวิทยาลัยนอตทิงแฮม|มหาวิทยาลัยนอตติงแฮม]] เขาได้กลับมาทำงานกับ[[องค์การนอกภาครัฐ]]ใน[[ประเทศไทย]]ได้ราวครึ่งปี<ref name="force" /> ต่อมาบิดาของเขาเสียชีวิตจากโรคมะเร็งในปี พ.ศ. 2545 ธนาธรวัย 23 ปี ในฐานะลูกชายคนโตของครอบครัวจึงรุ่งเรืองกิจซึ่งเป็นครอบครัวคนจีน เขาจึงจำเป็นต้องกลับมารับช่วงการบริหารธุรกิจต่อจากบิดา แม้จะอยากทำงานกับองค์กรภาคประชาสังคมที่ทำงานเพื่อสังคมและประชาชนมากกว่ากว่า😀
 
เขามีศักดิ์เป็นหลานอาของ[[สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ]] อดีต[[รองนายกรัฐมนตรี]] [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม]] ธนาธรและสุริยะให้สัมภาษณ์หลายครั้งว่าทั้งสองมีความเห็นทางการเมืองต่างกันตั้งแต่สมัยธนาธรยังเป็นนักศึกษา เพราะธนาธรไม่เห็นด้วยกับโครงการท่อส่งก๊าซไทย-มาเลย์ เป็นอย่างมากเพราะจะทำให้ประเทศไทยเสียผลประโยชน์อย่างมหาศาล นำไปสู่ความขัดแย้งกับสุริยะ ซึ่งเป็นรัฐมนตรีในรัฐบาล[[ทักษิณ ชินวัตร]]ขณะนั้น<ref>https://isaanrecord.com/2018/06/08/isaans-future-thanathorn-on-moving-the-region-forward/</ref> ในปี 2561 สุริยะที่ไปเข้า[[พรรคพลังประชารัฐ]] กล่าวถึงธนาธรว่า “ถ้าคุณพ่อเขาไม่เสีย ทุกวันนี้เขาคงไปเดินสาย[[องค์การนอกภาครัฐ|เอ็นจีโอ]] สมัยที่เขายังเรียนอยู่ บางที [[CNN]] ออกข่าวเรื่องการต่อต้านอะไร คุณจะได้เห็นธนาธรโผล่ไปหมดแหละครับ ต่างประเทศก็ด้วย เพราะจริง ๆ เขาอยากจะเห็นโลกที่สมบูรณ์แบบ”ในแบบที่เค้าคิด<ref>https://www.matichon.co.th/politics/news_1077860</ref>
บรรทัด 54:
หลังเรียนจบนายธนาธรเกือบจะได้เดินทางไปเริ่มทำงานด้านการพัฒนาเยาวชนของ[[สหประชาชาติ|องค์การสหประชาชาติ]]ที่[[ประเทศแอลจีเรีย]]อยู่แล้ว<ref>https://isaanrecord.com/2018/06/08/isaans-future-thanathorn-on-moving-the-region-forward/</ref> แต่แม่ของเขาโทรศัพท์มาแจ้งอาการป่วยหนักของพ่อซึ่งกำลังจะเข้ารับการผ่าตัดใหญ่เสียก่อน แผนชีวิตที่วางไว้ทั้งหมดพลิกกลับไปอีกขั้วหลังการจากไปของนายพัฒนา จึงรุ่งเรืองกิจ จากที่ไม่เคยคิดและไม่เคยสนใจจะเป็นนักธุรกิจมาก่อนเลยในชีวิต ธนาธรกลับต้องเข้ารับตำแหน่งรองประธานกรรมการบริหารกลุ่มบริษัทไทยซัมมิททันทีด้วยอายุเพียง 23 ปีในขณะนั้น<ref>https://isaanrecord.com/2018/06/08/isaans-future-thanathorn-on-moving-the-region-forward/</ref>
 
ตั้งแต่ที่ธนาธรเริ่มเข้าไปบริหารธุรกิจ กลุ่มบริษัทไทยซัมมิทได้เติบโตขึ้นอย่างมาก จากรายได้ 16,000 ล้านบาท<ref name="liferevo">[http://www.liferevo.org/index.php?option=com_content&task=view&id=210&Itemid=73 คุณ ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ] LifeRevo 8 ตุลาคม 2552</ref> เพิ่มขึ้นเป็นรายได้ 80,000 ล้านบาท เขาทำให้ธุรกิจครอบครัวกลายเป็นกลุ่มบริษัทระดับโลกที่มีโรงงานผลิตใน 7 ประเทศยักษ์ใหญ่ทั่วโลก รวมจำนวนพนักงานมากถึงราว 16,000 คน<ref>https://www.bbc.com/thai/thailand-44001760</ref><ref>https://www.prachachat.net/motoring/news-54183</ref>😁
 
ข้อตกลงทางธุรกิจที่สำคัญ เช่นกรณีที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2548 เมื่อธนาธรได้ดีลเป็นผู้ผลิตตัวถังรถยนต์ให้บริษัทเทสลา (Tesla) บริษัทสัญชาติ[[อเมริกัน]] มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของรถยนต์ไฟฟ้า เป็นจำนวนถึง 500,000 คันต่อปี<ref>https://www.bbc.com/thai/thailand-44001760</ref> ข้อตกลงนี้ได้สร้างสถิติใหม่ให้กับยอดขายต่อรายของไทยซัมมิท ซึ่งพุ่งขึ้นไปถึง 7,900 ล้านบาท คิดเป็นผลกำไร 5,980 ล้านบาท<ref>https://brandinside.asia/thaisummit-to-usa-for-tesla/</ref> และด้วยข้อตกลงซื้อขายนี้เอง ที่ได้ทำให้กลุ่มบริษัทไทยซัมมิทขยายฐานการผลิตกว้างไกลออกไปอีก ด้วยการเปิดโรงงานใน[[สหรัฐ|สหรัฐอเมริกา]]และพอถึงปี 2552 ไทยซัมมิทโดยการนำของนายธนาธรก็ได้ตัดสินใจซื้อ โอกิฮาระ (Ogihara) บริษัทสัญชาติ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]ผู้ผลิตแบบพิมพ์ชิ้นส่วนยานยนต์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก<ref>http://www.daiwa-grp.jp/english/press/en_090219-a.html</ref> ซึ่งกำลังประสบภาวะวิกฤตทางการเงินอย่างหนักในขณะนั้น แต่ด้วยการเข้าไปบริหารจัดการเต็มรูปแบบภายใต้การนำของนายธนาธร โอกิฮาระก็ผ่านพ้นวิกฤต และกลับมามีผลประกอบการที่มั่นคง เลี้ยงตัวเองได้และมีกำไรในที่สุด<ref>https://www.youtube.com/watch?v=UR7B5cxZE-c</ref>
 
นอกจากธุรกิจที่ดำเนินไปด้วยดี ธนาธรยังได้รับตำแหน่งประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดนครนายก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 – 2554<ref>http://info.matichon.co.th/report/committee/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%98%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%A3.pdf</ref> และเขายังเป็นคนที่อายุน้อยที่สุดที่ได้รับเลือกให้เป็นเลขาธิการสมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย ระหว่างปีพ.ศ. 2550 – 2553 ธนาธรยังมีรายชื่ออยู่ในบอร์ดพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรม ของ[[สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ]]อีกด้วย<ref>https://futureforwardparty.org/person/ธนาธร-จึงรุ่งเรืองกิจ</ref>😐
 
ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2561 หลังจากอยู่ในตำแหน่งรองประธานกรรมการบริหาร กลุ่มบริษัทไทยซัมมิทมาเป็นเวลา 16 ปีเต็ม ธนาธรประกาศลาออกอย่างเป็นทางการเพื่อทำงานทางการเมืองภายใต้บทบาทหัวหน้า[[พรรคอนาคตใหม่]]<ref>https://www.bbc.com/thai/thailand-43080898</ref> ซึ่งเขาเคยให้สัมภาษณ์ว่า จะยึดมั่นงานการเมืองอย่างเดียวนับจากนี้ และจะไม่กลับไปทำธุรกิจอีก<ref>https://www.matichon.co.th/politics/news_933215</ref>🤩
 
== การทำงานการเมือง ==