ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ICBM456 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่เคยเปิด แต่อ้างอิงจากแหล่งข่าวที่ปรากฏ แล้วคุณล่ะเคยเปิดหรือยัง
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่พบใน Britannica
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 2:
{{infobox royalty
| image = ไฟล์:Bhumibol adulyadej.jpg
| name = พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร <br >มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
| birth_style = พระราชสมภพ
| birth_date = {{วันเกิด|2470|12|5}}
บรรทัด 13:
| spouse = [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]
| issue-link = #พระราชสันตติวงศ์
| issue = {{List collapsed|title=''ดูรายพระนาม''|1=[[ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี]] <br>[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] <br>[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]]<br>[[สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอเจ้าฟ้าฯ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี|สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]]}}
| dynasty = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| reign = 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 <br> ({{อายุปีและวัน|1946|6|9|2016|12|5}})
บรรทัด 43:
* {{cite web|title=The Top 10 Richest Royals in the World|url=http://www.celebritynetworth.com/articles/entertainment-articles/15-richest-heads-state/|work=The Richest|publisher=CelebrityNetWorth.com|accessdate=26 May 2014|date=25 August 2013}}</ref> เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พระองค์มีพระราชทรัพย์ 30,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (ดู[[#พระราชทรัพย์|หมายเหตุด้านล่าง]])<ref name="Chris">{{cite web|title=The business of royalty: The five richest monarchs in the world|url=http://www.businessspectator.com.au/article/2014/4/24/family-business/business-royalty-five-richest-monarchs-world|work=Business Spectator|publisher=Business Spectator Pty Ltd|accessdate=6 May 2014|author=Chris Kohler|date=24 April 2014}}</ref> สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์นั้นใช้สินทรัพย์เพื่อสวัสดิการสาธารณะ เช่น เพื่อพัฒนาเยาวชน แต่ได้รับการยกเว้นมิต้องจ่ายภาษีและให้เปิดเผยการเงินต่อพระมหากษัตริย์แต่พระองค์เดียว<ref>[http://www.crownproperty.or.th/en/social.php?c=1 The Crown Property Bureau – Youth Development]{{Dead link|date=พฤษภาคม 2560}} {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/1312942356977725|date=10 August 2011}}<!--DashBotWC--></ref><!--and conservation programs.<ref>[http://www.crownproperty.or.th/en/social.php?c=5 The Crown Property Bureau – Conservation programs]</ref>--> ขณะที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชก็ได้ทรงอุทิศพระราชทรัพย์ไปในโครงการพัฒนาประเทศไทยหลายต่อหลายโครงการ โดยเฉพาะในทางเกษตรกรรม สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ ทรัพยากรน้ำ สวัสดิการทางคมนาคม และสวัสดิการสาธารณะ<ref>[http://www.hasekamp.net/king.htm Some information about HM King Bhumibol Adulyadej] {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/1312942386392887|date=10 August 2011}}<!--DashBotWC-->{{ลิงก์เสีย}}</ref>
 
นับแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเสด็จแปรพระราชฐานไปประทับรักษาพระอาการพระโรค[[ไข้หวัด]]และ[[พระปัปผาสะอักเสบ]] ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ [[โรงพยาบาลศิริราช]] ตลอดมา แต่พระอาการประชวรได้ทรุดหนักลงตามลำดับ และ[[การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|เสด็จสวรรคต]]เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15:52 น. สิริพระชนมพรรษา 88 พรรษา 313 วัน<ref>[http://www.matichon.co.th/news/319977 แถลงการณ์สำนักพระราชวัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคต]</ref>
 
== ปฐมวัย ==
บรรทัด 61:
| caption2 =
}}
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพใน[[ราชสกุลมหิดล]]อันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ [[โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น]] [[เคมบริดจ์ (แมสซาชูเซตส์)|เมืองเคมบริดจ์]] [[รัฐแมสซาชูเซตส์]] [[สหรัฐ]] อันเป็นที่ซึ่งพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกำลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น 12 ค่ำ ปีเถาะ นพศก จุลศักราช 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470
 
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ([[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก]] ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, [[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]] ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "''เบบี สงขลา''" ({{lang-en|Baby Songkla}})<ref>{{cite press release |title=THE MAKING of a MONARCH|url=http://www.bangkokpost.com/60yrsthrone/60yrsthrone/index.html|publisher=Bangkok Post|language=อังกฤษ|date=5 ธันวาคม พ.ศ. 2005|accessdate=27 สิงหาคม พ.ศ. 2012}}{{Dead link|date=พฤษภาคม 2560}}</ref> ต่อมาคือ '''พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช''' เมื่อได้รับพระราชทานนาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] และ[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]] ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำลองว่า "เล็ก"<ref name="เจ้านายเล็ก ๆ "/><ref name="chakridynastyranks">{{cite web |url = http://members.tripod.com/~tudtu/chakri.html |title = The Illustrious Chakri Family |format = |publisher = Tudtu |accessdate = 2006-08-13}}</ref>
 
พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจาก[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทำให้[[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]]ทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล"<ref name="เจ้านายเล็ก ๆ "/> ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุล<u>ย</u>เดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด<ref name="เจ้านายเล็ก ๆ ">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา]]| ชื่อหนังสือ = เจ้านายเล็ก ๆ - ยุวกษัตริย์| URL = | จังหวัด = กรุงเทพ| พิมพ์ที่ = ซิลค์เวอร์ม บุคส์| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2549| ISBN = 974-7047-55-1| หน้า = หน้าที่| จำนวนหน้า = 450}}</ref><ref>{{cite book |author=Wimuttanon, Suvit (ed.) |title=Amazing Thailand (special collector's edition)|publisher=World Class Publishing |year=2001 |pages=Page 33 |id=ISBN 974-91020-3-7}}</ref>
บรรทัด 74:
 
=== การศึกษา ===
[[ไฟล์:Mahidols-1938.jpg|thumb|left|200px| (ด้านหน้า จากขวามาซ้าย) พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช; [[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี]] และ[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]]]]
พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่[[โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย]]จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ [[โลซาน|เมืองโลซาน]] [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ [[โรงเรียนเมียร์มองต์]] เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชา[[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษาเยอรมัน]] และ[[ภาษาอังกฤษ]] แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ [[เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์]] ({{lang|fr|École Nouvelle de la Suisse Romande}}) [[ชายี-ซูร์-โลซาน|เมืองชายี-ซูร์-โลซาน]] ({{lang|fr|Chailly-sur-Lausanne}})
 
บรรทัด 85:
{{ดูเพิ่มที่2|พระราชพิธีราชาภิเษกสมรสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช}}
{{วิกิซอร์ซ|ประกาศนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙‎|ประกาศนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2489 (สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ทรงราชย์สืบราชสันตติวงศ์)}}
วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 [[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]][[การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล|เสด็จสวรรคต]]อย่างกระทันหัน ณ [[พระที่นั่งบรมพิมาน]] ภายใน[[พระบรมมหาราชวัง]] ในวันเดียวกัน รัฐสภาลงมติเป็นเอกฉันท์อัญเชิญ[[สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช]] (พระยศในขณะนั้น) ขึ้นทรงราชย์สืบราชสันตติวงศ์ต่อไป<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/039/4.PDF ประกาศ เรื่อง สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดชทรงราชย์สืบราชสันตติวงศ์], เล่ม๖๓, ตอน ๓๙ ก ฉบับพิเศษ, ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙, หน้า ๔</ref> จากนั้นทรงเสด็จพระราชดำเนินไปศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยแห่งเดิม แต่เปลี่ยนสาขาจาก[[วิทยาศาสตร์]] ไปเป็นสาขา[[สังคมศาสตร์]] [[นิติศาสตร์]] และ[[รัฐศาสตร์]] ในวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ซึ่งในช่วงเวลานั้นพระองค์ยังทรงพระเยาว์และเสด็จพระราชดำเนินศึกษาต่อ คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ชั่วคราวในครั้งแรก ซึ่งได้แก่ [[พระสุธรรมวินิจฉัย]] ([[ชม วณิกเกียรติ)]]), [[พระยานลราชสุวัจน์]] ([[ทองดี นลราชสุวัจน์)]]) และนาย[[สงวน จูฑะเตมีย์]] [[สมาชิกพฤฒสภา]] ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร]] และ[[พระยามานวราชเสวี]] ([[ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)]])<ref>http://library2.parliament.go.th/ejournal/content_af/2558/sep2558-3.pdf</ref><ref>http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=พฤฒสภา_(ขัตติยา_ทองทา)</ref>
 
[[ไฟล์:Bhumbol_coronation_1.jpg|thumb|left|200px|[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชพุทธศักราช บรมนาถบพิตร2493]]]]
ขณะที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชประทับรถพระที่นั่งเสด็จพระราชดำเนินไปยัง[[ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง]] เพื่อทรงศึกษาเพิ่มเติมที่สวิตเซอร์แลนด์ ก็ทรงได้ยินเสียงราษฎรคนหนึ่งตะโกนว่า ''"ในหลวง อย่าทิ้งประชาชน"'' จึงทรงนึกตอบในพระราชหฤทัยว่า ''"ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะทิ้งประชาชนอย่างไรได้"''<ref>ภปร., พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2511, ไม่มีเลขหน้า.</ref> ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงตระหนักในหน้าที่พระมหากษัตริย์ของพระองค์ ดังที่ได้ตรัสตอบชายคนเดิมนั้นในอีก 20 ปีต่อมา<ref>พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, "เมื่อข้าพเจ้าจากสยามมาสู่สวิตเซอร์แลนด์", วงวรรณคดี (สิงหาคม 2490).</ref>
 
หลังจากที่จบการศึกษาจากสวิตเซอร์แลนด์ พระองค์เสด็จเยือน[[ปารีส|กรุงปารีส]] ทรงพบกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ซึ่งเป็นธิดาของเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส [[ประเทศฝรั่งเศส]] เป็นครั้งแรก<ref>{{cite web |year=1988 |url=http://www.asiasource.org/society/bhumiboladulyadej.cfm |title=Bhumibol Adulyadej |work=The Encyclopedia of Asian History the Asia Society 1988. |publisher=Asia Source |accessdate=2007-09-25}}</ref> ในขณะนั้น ทั้งสองพระองค์มีพระชนมายุ 21 พรรษาและ 15 พรรษาตามลำดับ
บรรทัด 96:
ทั้งนี้ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ได้มีโอกาสเข้าเฝ้าเยี่ยมพระอาการเป็นประจำจนกระทั่งหายจากอาการประชวร อันเป็นเหตุที่ทำให้ทั้งสองพระองค์มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา<ref>{{cite web |url = http://srinai.tripod.com/guide/King.html |title = A Royal Romance |publisher = Srinai Tripod.com|accessdate = 2006-07-12}}</ref><ref name="BKP">{{cite web | date = December 5, 2005 |url = http://www.bangkokpost.net/60yrsthrone/60yrsthrone/index.html |title = The Making of a Monarch |publisher = Bangkok Post |accessdate = 2006-07-12}}{{Dead link|date=พฤษภาคม 2560}}</ref><ref>Handley, Paul M. (2006). [[The King Never Smiles]]. Yale University Press, Page 104. ISBN 0-300-10682-3.</ref>
 
[[ไฟล์:Bhumbol and Sirikit.jpg|thumb|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ[[สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์]]ในพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสปี พ.ศ. 2493]]
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงหมั้นกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 และเสด็จพระราชดำเนินนิวัตพระนครในปีถัดมา โดยประทับ ณ [[พระที่นั่งอัมพรสถาน]] ต่อมาวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ณ พระตำหนัก[[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]] ภายใน[[วังสระปทุม]] ซึ่งในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสนี้ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ขึ้นเป็น ''สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2493/D/023/1690.PDF การพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส พุทธศักราช ๒๔๙๓], เล่ม ๖๗, ตอน ๒๓ง, ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๓, หน้า ๑๖๙๐</ref>
 
วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณีขึ้น ณ [[พระที่นั่งไพศาลทักษิณ]] เฉลิมพระปรมาภิไธยตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า '''พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร''' พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า ''"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"'' ในโอกาสนี้พระองค์ทรงพระราชดำริว่า ตามโบราณราชประเพณี เมื่อสมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษกแล้ว ย่อมโปรดให้สถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระอัครมเหสีขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมราชินี ดังนั้น พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศสถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเป็น ''สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2493/A/026/10.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระบรมราชินี (ทรงสถาปนาพระเกียรติยศสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเป็น สมเด็จพระนางเจ้าราชินีสิริกิติ์ พระบรมราชินี)], เล่ม 67, ตอน 26 ก ฉบับพิเศษ, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493, หน้า 10</ref>
 
ในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชซึ่งเป็นช่วงที่[[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล แปลก พิบูลสงคราม]]เป็นนายกรัฐมนตรีนั้น เขามีนโยบาย "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" โดยพยายามชูบทบาทของตนเองให้โดดเด่นกว่าพระมหากษัตริย์ และไม่สนับสนุนให้พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่าง ๆ และควบคุมการใช้จ่ายของพระมหากษัตริย์<ref name = Noranit1>นรนิติ เศรษฐบุตร, บรรณาธิการ. (2549). '''การเมืองการปกครองไทยในรอบ 60 ปี แห่งการครองสิริราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.''' นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า.</ref>
 
=== ผนวช ===
{{บทความหลัก2|พระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9}}
[[ไฟล์:Princess Sri Sangwal and Monk-King Bhumibol.JPG|thumb|200px|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรับบาตร ขณะผนวช]]
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเสด็จฯ ออกผนวชเป็นเวลา 15 วัน ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม–5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 ณ [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] โดยมี[[สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์|สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ สมเด็จพระสังฆราช]] เป็น[[พระอุปัชฌาย์]] ทรงได้รับฉายาว่า ''ภูมิพโลภิกขุ'' หลังจากนั้น พระองค์เสด็จฯ ไปประทับจำพรรษา ณ พระตำหนักปั้นหยา [[วัดบวรนิเวศวิหาร]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2499/D/084/3180.PDF หมายกำหนดการ ที่ ๑๕/๒๔๙๙ พระราชพิธีผนวช ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙], เล่ม ๗๓, ตอน ๘๔ ง, ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๙, หน้า ๓๑๘๐</ref> ระหว่างที่ผนวชนั้น พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2499/A/076/1035.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้ง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในระหว่างที่ผนวช], เล่ม 73, ตอน 76 ก, 25 กันยายน พ.ศ. 2499, หน้า 1035</ref> ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้โปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธยเป็น[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ปีเดียวกัน<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2499/A/103/1640.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศเฉลิมพระอภิไธย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ], เล่ม 73, ตอน 103 ก, 11 ธันวาคม พ.ศ. 2499, หน้า 1640</ref>
 
ระหว่างที่ทรงดำรงสมณเพศ พระภิกษุพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงปฏิบัติพระราชกิจ เช่นเดียวกับพระภิกษุทั้งหลายอย่างเคร่งครัด เช่น เสด็จลงพระอุโบสถทรงทำวัตรเช้า–เย็น ตลอดจนทรงสดับพระธรรมและพระวินัยนอกจากนี้ยังได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจพิเศษอื่น ๆ เช่นในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงร่วมสังฆกรรมในพิธีผนวชและอุปสมบทนาคหลวงในพระบรมราชินูปถัมภ์ ในวันที่วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2499 เสด็จฯ ไปทรงรับบิณฑบาต จากพระบรมวงศานุวงศ์และข้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในโอกาสนี้พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งยังเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทด้วย
บรรทัด 115:
 
=== ขัดแย้งกับรัฐบาลจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ===
หลังจากจอมพล ป.ทำรัฐประหารในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 โดย หลังการรัฐประหาร จอมพล ป. ได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2492 และกลับไปใช้รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2475 เพื่อเป็นการลดอำนาจ พระมหากษัตริย์ นอกจากนี้ จอมพล ป. ยังได้ จำกัดชีวิตส่วนพระองค์ของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ให้อยู่แต่เฉพาะในพระนคร และวังไกลกังวล จ.ประจวบคีรีขันธ์เท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2498 จอมพล ป. ได้จัดให้พระองค์และ สมเด็จพระบรมราชินี (พระอิสริยยศในขณะนั้น) เสด็จเยือนภาคอีสานโดยทางรถไฟ ผลปรากฏชัดว่าพระองค์เป็น ที่นิยมของประชาชนจำนวน มาก ดังนั้น จอมพล ป. จึงได้ตัดงบประมาณในการเสด็จ ครั้งต่อไป <ref> {{cite book |author=สิทธิพล เครือรัฐติกาล |title=สถาบันพระมหากษัตริย์กับนโยบายต่างประเทศของไทยยุคสงครามเย็น |publisher=ฟ้าเดียวกัน |year=2015|pages=Page ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 น.163}}</ref> โดยเฉพาะในโอกาสฉลองพุทธศตวรรษ พ.ศ. 2500<ref> {{cite book |author=Handley, Paul M. |title=The King Never Smiles |publisher=Yale University Press |year=2006 |pages=Page 129–130, 136–137 |id=ISBN 0-300-10682-3}}</ref><ref>{{cite book |author=Thak Chaloemtiarana |title=Thailand: The Politics of Despotic Paternalism |publisher=Social Science Association of Thailand |year=1979 |pages=Page 98}}</ref> รัฐบาลได้กราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์เสด็จมาทรงเป็นประธานซึ่งก็ทรงตอบรับเป็นที่เรียบร้อย แต่ครั้นถึงวันงานทรงพระประชวรปัจจุบันทันด่วน ทำให้นายกรัฐมนตรีตัดสินใจเป็นประธานเปิดพิธีเอง และในเดือนสิงหาคมปีดังกล่าว [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ผู้บัญชาการทหารบก ออกมาโจมตีรัฐบาลของจอมพล แปลกว่าละเมิดพระราชอำนาจของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ซึ่งข่าวการระหองระแหงกันระหว่างพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและรัฐบาลดังกล่าว ทำให้สาธารณะเริ่มไม่ไว้วางใจรัฐบาลมากขึ้น<ref name = Noranit1/><ref>Thak Chaloemtiarana (1979). Thailand: The Politics of Despotic Paternalism. Social Science Association of Thailand, Page 98. {{en icon}}</ref>
 
เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 จอมพล แปลกได้ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อขอให้ทรงสนับสนุนรัฐบาล<ref> {{cite book |author=Suwannathat-Pian, Kobkua |title=Thailand's Durable Premier |publisher=Oxford University Press |year=1995 |pages=Page 30 |id=ISBN 967-65-3053-0}}</ref> พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเตือนจอมพล แปลกว่าขอให้ลาออกจากตำแหน่งเสียเพื่อมิให้เกิดรัฐประหาร แต่จอมพล แปลกปฏิเสธ<ref>Suwannathat-Pian, Kobkua (1995). Thailand's Durable Premier. Oxford University Press, Page 30. ISBN 967-65-3053-0. {{en icon}}</ref> เย็นวันดังกล่าว จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลทันที และสองชั่วโมงหลังจากการประกาศยึดอำนาจ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ใช้[[กฎอัยการศึก]]ทั่วราชอาณาจักร<ref>พระบรมราชโองการให้ใช้กฎอัยการศึกษาทั่วราชอาณาจักร. (2500, 16 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา, (เล่มที่ 74, ตอน 76). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/A/076/2.PDF http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/A/076/2.PDF]. (4 มิถุนายน 2551).</ref> และได้มี[[:s:ประกาศพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ลงวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๐๐|พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้จอมพล สฤษดิ์เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร]]โดยไม่มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พระบรมราชโองการฉบับหลังมีความว่า<!--<ref>พระบรมราชโองการตั้งผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร. (2500, 16 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา, (เล่มที่ 74, ตอนพิเศษ 76 ก). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/A/076/1.PDF http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/A/076/1.PDF]. (4 มิถุนายน 2551).</ref>-->
บรรทัด 124:
 
=== สมัยรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ===
<!-- [[ไฟล์:ATrelations0018a-1.jpg|190x190px|thumb|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขณะมีพระราชดำรัส ณ รัฐสภาแห่งสหรัฐ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2503]] -->
[[ไฟล์:King and Sarit.jpg|thumb|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จฯ เยี่ยมจอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] เป็นการส่วนพระองค์ในปี พ.ศ. 2506]]
เมื่อรัฐบาลทหารของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เถลิงอำนาจแล้ว รัฐบาลได้ฟื้นฟูพระราชอำนาจพระมหากษัตริย์ โดยอนุญาตให้พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จออกประชาชนเป็นอันมาก ให้เสด็จประภาสในถิ่นทุรกันดาร และตั้งงบประมาณสนับสนุนโครงการพัฒนาที่พระองค์มีพระราชดำริริเริ่มด้วย โดยรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้ประกาศให้นำประเพณีหมอบกราบเข้าเฝ้า ซึ่งเลิกไปในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กลับมาใช้ใหม่ กับทั้งประกาศให้สถาปนา[[ธรรมยุติกนิกาย]]ขึ้นซ้ำด้วย นอกจากนี้ นับตั้งแต่[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การปฏิวัติสยาม 2475]] สืบมา [[กระบวนพยุหยาตราชลมารค|ประเพณีการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราชลมารค]]ก็ได้จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเพื่อถวายผ้าพระ[[กฐิน]]<ref name="evans1998">{{cite web |last=Evans |first=Dr. Grant |authorlink= |coauthors=citing Christine Gray |year=1998 |url=http://www.laosnet.org/fa-ngum/ewans.htm |title=The Politics of Ritual and Remembrance: Laos since 1975 |publisher=Laosnet.org |accessdate=5 July 2006}}</ref><ref name="autogenerated89">{{cite book |author=Evans, Dr. Grant |title=The Politics of Ritual and Remembrance: Laos since 1975 |publisher=University of Hawaii Press |year=1998 |pages=89–113 |isbn=0-8248-2054-1}}</ref>
 
พิธีกรรมตามโบราณประเพณีหลายอย่างของ[[ราชวงศ์จักรี]] เช่น[[วันพืชมงคล|พิธีกรรมพืชมงคล]] ก็มีประกาศให้ฟื้นฟู<ref>{{cite web |last=Klinkajorn |first=Karin |url=http://www.international.icomos.org/xian2005/papers/2-18.pdf |title=Creativity and Settings of Monuments and Sites in Thailand: Conflicts and Resolution |format=PDF|publisher=International Council on Monuments and Sites |accessdate=5 July 2006}}</ref> วันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม) ก็ได้รับการประกาศให้เป็น[[วันชาติ (ประเทศไทย)|วันชาติไทย]] แทนที่วันที่ 24 มิถุนายน อันตรงกับวันที่[[คณะราษฎร]]ได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นผลสำเร็จด้วย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2503/D/043/1452.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้ถือวันพระราชสมภพ เป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทย], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 77 ตอน 43 24 พฤษภาคม 2503 หน้า 1452</ref>
บรรทัด 136:
 
=== สมัยรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ===
ในความโกลาหลครั้งนั้น ฝ่ายทหารก็เข้ายึดอำนาจอีกครั้ง และเสนอนามบุคคลสามคนให้พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเลือกเพื่อแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ประกอบด้วย [[ประกอบ หุตะสิงห์]] ประธานศาลฎีกา, [[ธรรมนูญ เทียนเงิน]] ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และ [[ธานินทร์ กรัยวิเชียร]] ผู้พิพากษาศาลฎีกา<ref name="nationgracious">{{cite web |date=2 February 2007 |url=http://www.nationmultimedia.com/webblog/view_blog.php?uid=492&bid=1817%20His%20Gracious%20Majesty |title=His Gracious Majesty |publisher=The Nation |accessdate=25 September 2007}}{{dead link|date=August 2018}}</ref> ด้วยความที่ธานินทร์ กรัยวิเชียร มีเกียรติคุณดีที่สุด จึงได้รับการโปรดให้เป็นนายกรัฐมนตรี
 
พระองค์มีพระราชดำรัสในพิธีประดับยศนายทหารชั้นนายพล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2519 ความตอนหนึ่งว่า
บรรทัด 143:
{{บทความหลัก2|เหตุระเบิดที่ยะลา 22 กันยายน พ.ศ. 2520}}
 
เดือนกันยายน 2520 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]], [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี|สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา]] และ [[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี|สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์]] เสด็จพระราชดำเนินปฏิบัติพระราชกรณียกิจในจังหวัดภาคใต้
 
ในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2520 เวลา 15.15 น. ขณะที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, สมเด็จพระบรมราชินีนาถและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอทั้งสองพระองค์ประทับบนพลับพลาที่ประทับ ซึ่งมีประชาชนมาเฝ้ารับเสด็จฯราว 30,000 คน ก็ได้มีราษฏรที่มาเฝ้ารับเสด็จฯไปหยิบไฟแช็คดังกล่าวเป็นเหตุให้ระเบิดลูกแรกเกิดระเบิดขึ้น ราษฏรต่างพากันแตกตื่นและเหยียบกับระเบิดลูกที่สอง ทำให้ระเบิดลูกที่สองเกิดระเบิดขึ้น ระเบิดลูกแรกห่างจากพลับพลาที่ประทับ 60.15 เมตร ห่างจากลาดพระบาท 5.20 เมตร และระเบิดลูกที่สองห่างจากพลับพลาที่ประทับ 105.15 เมตร ห่างจากลาดพระบาท 6.00 เมตร แรงระเบิดทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 55 คน บาดเจ็บสาหัส 11 คน<ref>คดีพยายามลอบปลงพระชนม์ ร.๙ และพระราชินี คดีประวัติศาสตร์, บุญร่วม เทียมจันทร์ 2555</ref> ขณะที่เกิดความโกลาหลนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่และผู้บังคับบัญชาลูกเสือชาวบ้านได้เข้าระงับควบคุมฝูงชนอย่างฉับพลัน มีการใช้เครื่องขยายเสียงแบบมือถือที่เตรียมไว้แล้วปลอบโยนประชาชนมิให้ตื่นตระหนกและให้อยู่กับที่ ขณะเดียวกันก็มีการลำเลียงผู้บาดเจ็บไปยังโรงพยาบาล ในการนี้พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอทั้งสองพระองค์มิได้ทรงรับบาดเจ็บใด ๆ
 
ขณะเกิดเหตุนั้น พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงยืนประทับอยู่กับที่และทอดพระเนตรมองเหตุการณ์ต่าง ๆ พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ยืนรายล้อมถวายการอารักษา ในขณะที่พิธีการต้องหยุดชะงักชั่วครู่
 
ทั้งนี้ก่อนหน้าเหตุระเบิดราวราว 20 ชั่วโมง ก็ได้มีตำรวจขับรถจักรยานยนต์ฝ่าสัญญาณไฟจราจรพุ่งชนรถยนต์พระที่นั่งจนเกิดไฟลุกท่วม
 
ภายหลังเกิดเหตุ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจต่อไป โดยมิได้แสดงพระอาการปริวิตกต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และมีพระราชดำรัสให้ทุกคนมีจิตใจเข้มแข็งไม่ตื่นเต้นต่อสถานการณ์ เมื่อจบคำพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแล้ว สมเด็จเจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา และสมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ ซึ่งประทับอยู่ในพลับพลาฯทรงนำเหล่าราษฎรร้องเพลง “เราสู้”<ref>[http://somsakwork.blogspot.com/2006/10/6.html “เราสู้” หลัง 6 ตุลา]</ref> และภายหลังเสร็จพระราชกรณียกิจ เวลา 18.55 น. พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยียนผู้บาดเจ็บที่โรงพยาบาลจังหวัดยะลา
 
ธานินทร์ กรัยวิเชียรมีแนวคิดขวาจัด ทำให้เหล่านักศึกษาหนีเข้าป่าไปรวมกลุ่มกับ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย|พวกคอมมิวนิสต์]] รัฐบาลของธานินทร์ กรัยวิเชียร จึงถูกรัฐประหารนำโดย [[เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์|พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์]] ใน พ.ศ. 2523 และคณะรัฐประหารก็ตั้งพลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] เป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่
บรรทัด 161:
=== พฤษภาทมิฬ ===
{{บทความหลัก2|พฤษภาทมิฬ}}
[[ไฟล์:200535.jpg|thumb|200px|left|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดเกล้าฯ ให้ พล.อ.สุจินดา และ พล.ต.จำลอง เข้าเฝ้า]]
รัฐประหารของคณะทหารเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำประเทศไทยกลับไปสู่ระบอบเผด็จการทหารอีกครั้ง ซึ่งหลัง[[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]] (รสช.) ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2535 และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปแล้ว พรรคการเมืองที่มีจำนวนผู้แทนราษฎรมากที่สุดคือพรรคสามัคคีธรรม จำนวนเจ็ดสิบเก้าคน ได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล และมีการเตรียมเสนอ [[ณรงค์ วงศ์วรรณ]] หัวหน้าพรรคสามัคคีธรรมในฐานะหัวหน้าพรรคที่มีผู้แทนราษฎรมากที่สุดขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ปรากฏว่ามาร์กาเร็ต แท็ตไวเลอร์ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา ได้แถลงว่า ณรงค์เป็นผู้หนึ่งที่ไม่สามารถขอหนังสือเดินทางเข้าสหรัฐฯ ได้ เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด<ref name="bloodymay">{{cite web |year = 2000|url = http://www.seameo.org/vl/92may/92may1.htm |title = Development Without Harmony |publisher = Southeast Asian Ministers of Education Organization |accessdate = 2007-09-26}}</ref> พลเอก [[สุจินดา คราประยูร]] หัวหน้าคณะรัฐประหาร ซึ่งเคยตกปากว่าจะไม่รับตำแหน่งใด ๆ ภายหลังจากเลือกตั้งอีกเพื่อตัดข้อครหาบทบาทของทหารในรัฐบาลพลเรือน กลับยอมรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และสร้างความไม่พอใจท่ามกลางประชาชนเป็นอันมาก นำไปสู่การเคลื่อนไหวคัดค้านต่าง ๆ ของประชาชน โดยมีร้อยตรี [[ฉลาด วรฉัตร]] และพลตรี [[จำลอง ศรีเมือง]] หัวหน้าพรรคพลังธรรม เป็นแกนนำ ซึ่งรัฐบาลของพลเอก สุจินดาได้สั่งให้ปราบปรามผู้ชุมนุมประท้วงโดดเฉียบขาด กลายเป็นเหตุการณ์นองเลือดในที่สุด และมีผู้คนเสียชีวิต เมื่อฝ่ายทหารเปิดการโจมตีผู้ชุมนุม เหตุการณ์ดิ่งสู่ความรุนแรงเรื่อย ๆ เมื่อกำลังทหารและตำรวจเข้าควบคุมกรุงเทพมหานครเต็มที่<ref name=autogenerated4>{{cite web |year=2000|url=http://www.seameo.org/vl/92may/92may1.htm |title=Development Without Harmony |publisher=Southeast Asian Ministers of Education Organization |accessdate=26 September 2007}}</ref> และท่ามกลางเหตุการณ์นี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยมีพระบรมราชโองการเรียกพลเอก สุจินดา คราประยูร และหัวหน้ากลุ่มผู้ประท้วง (พลตรีจำลอง ศรีเมือง) เพื่อเรียกร้องประชาธิปไตย ให้เฝ้า และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ถ่ายทอดการนี้ออกอากาศสดได้ ในภาพทางโทรทัศน์ พระองค์ทรงขอให้คู่กรณียุติความรุนแรงและนำพาชาติบ้านเมืองไปสู่สันติซึ่งทั้ง พลเอก สุจินดา คราประยูร และ พลตรีจำลอง ศรีเมือง เห็นพ้องต้องกันในการที่จะให้รัฐบาลพลเรือนเข้ามาบริหารประเทศในสถานการณ์ดังกล่าว <ref name="">{{cite book |date=2001 |title=The Revolutionary King: the True-Life Sequel to the King and I. |page=225 |author=William Stevenson, Robinson }}</ref> ณ จุดสูงสุดของวิกฤติการณ์ ปรากฏภาพพลเอก สุจินดา คราประยูร และหัวหน้าผู้ประท้วง เฝ้าทูลละอองพระบาทโดยหมอบกราบ และที่สุดก็นำไปสู่การลาออกของพลเอก สุจินดา คราประยูร และการเลือกตั้งทั่วไป<ref name="srimuang">{{cite web |year=2000|url=http://www.rmaf.org.ph/Awardees/Biography/BiographySrimuangCha.htm |title=BIOGRAPHY of Chamlong Srimuang |work=The 1992 Ramon Magsaysay Award for Government Service|publisher=Ramon Magsaysay Award Foundation |accessdate=26 September 2007}}{{dead link|date=August 2018}}</ref>
 
บรรทัด 167:
{{บทความหลัก2|รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ}}
[[ไฟล์:King_CDRM_L.jpg|200px|left|thumb|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โปรดเกล้าฯ ให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน พล.ร.อ.สถิรพันธุ์ เกยานนท์ และ พล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุก เข้าเฝ้าฯ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต ในเหตุการณ์[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549]]]]
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้[[เปรม ติณสูลานนท์|พลเอก เปรม ติณสูลานนท์]] ประธาน[[สภาองคมนตรี]] และ[[รัฐบุรุษ]] [[สนธิ บุญยรัตกลิน|พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน]] [[สถิรพันธุ์ เกยานนท์|พลเรือเอก สถิรพันธุ์ เกยานนท์]] และ[[ชลิต พุกผาสุข|พลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุข]] เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายรายงานสถานการณ์ [[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข|การปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] เมื่อเวลา 00.19 น. วันพุธที่ [[20 กันยายน]] ณ [[พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน]] [[พระราชวังดุสิต]]<ref name="Timeline">{{cite web |date = September 20, 2006 |url = http://nationmultimedia.com/2006/09/20/headlines/headlines_30014092.php |title = Coup as it unfolds |publisher = The Nation |accessdate = 2007-09-25}}{{dead link|date=August 2018}}</ref>
 
พลเอก [[สนธิ บุญยรัตกลิน]] หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ได้นำความกราบบังคมทูลพระกรุณา ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ว่า การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล อันมี[[ทักษิณ ชินวัตร|พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] ก่อให้เกิดปัญหา ความขัดแย้งแบ่งฝ่าย สลายความรู้สึกรู้รักสามัคคีของคนในชาติ อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ชาติไทย ประชาชนส่วนหนึ่งเคลือบแคลงสงสัยว่า การบริหารราชการแผ่นดิน ส่อไปในทางทุจริตประพฤติมิชอบอย่างกว้างขวาง หน่วยงานอิสระ ถูกการเมืองครอบงำ ทำให้การดำเนินกิจกรรมทางการเมือง เกิดปัญหาและอุปสรรคหลายประการ แม้หลายภาคส่วนของสังคมจะได้พยายามประนีประนอม คลี่คลายสถานการณ์มาโดยต่อเนื่องแล้ว ก็ไม่สามารถรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองได้<ref name="kate">{{cite web |last = McGeown|first = Kate |date = September 21, 2006 |url = http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/5367936.stm |title = Thai king remains centre stage|publisher = BBC News |accessdate = 2007-09-25}}</ref>
บรรทัด 173:
นอกจากนี้ ในวันที่ 22 กันยายน [[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]] โดย[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก]] แพร่ภาพพิธีรับพระบรมราชโองการ แต่งตั้งหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แก่พลเอก สนธิ ซึ่งมีข้อสังเกตว่าประกาศฉบับดังกล่าว มีพลเอก สนธิเอง ในฐานะ[[รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย|ผู้บัญชาการทหารบก]] เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และลงวันที่ 20 กันยายน ขณะที่พิธีรับพระบรมราชโองการนั้น จัดให้มีขึ้นต่อมาในภายหลัง<ref>[[s:ประกาศ แต่งตั้งหัวหน้าคปค.|ประกาศ แต่งตั้งหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] จาก[[วิกิซอร์ซ]]</ref>
 
หลังจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2549]] ในวันที่ [[1 ตุลาคม]] ปีเดียวกัน คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แปรสภาพเป็น '''คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ''' โดย หัวหน้า คปค. ดำรงตำแหน่ง '''ประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ''' มีอำนาจหน้าที่ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ประธานสภานิติบัญญัติ ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ หลังจากนั้น จึงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง พลเอก [[สุรยุทธ์ จุลานนท์]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]]<ref name=autogenerated3>{{cite web |last=McGeown|first=Kate |date=21 September 2006 |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/5367936.stm |title=Thai king remains centre stage|publisher=BBC News |accessdate=2007-09-25}}</ref>“
 
[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]] ได้พระราชทานสัมภาษณ์ในรายการโดยอ้างว่าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเสียพระทัยต่อเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองและการเสียพระทัยจากเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองนำไปสู่พระอาการประชวรเป็นไข้ ใจความตอนหนึ่งว่า<ref>[http://prachatai.com/journal/2011/04/33901 การพระราชทานสัมภาษณ์] ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในรายการ "วู้ดดี้ เกิดมาคุย"</ref>
บรรทัด 182:
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระอาการประชวรเรื้อรังในส่วนของพระหทัยเต้นผิดปกติ มีสาเหตุจากการได้รับเชื้อ[[ไมโคพลาสมา]] ราวปี พ.ศ. 2530 เสด็จไปเยี่ยมประชาชนที่[[อำเภอสะเมิง]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] คณะแพทย์ไม่อาจถวายการรักษาให้หายขาดได้ ทำได้เพียงถวายพระโอสถประคองพระอาการมาตลอด จนต้องทรงรับการผ่าตัดใหญ่มาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2538<ref>{{cite news| url=http://www.naewna.com/local/32685 | work=แนวหน้า | title=สาเหตุโรคพระหทัยของในหลวง : ในหลวงของฉัน | date=4 ธันวาคม พ.ศ. 2555 | accessdate=13 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref>
 
นับตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2552 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเริ่มประชวร อันเนื่องมาจาก[[ไข้หวัด|พระโรคไข้หวัด]]และ[[โรคปอดบวม|พระปัปผาสะอักเสบ]] พระองค์แปรพระราชฐานจากพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ไปโรงพยาบาลศิริราช เพื่อให้คณะแพทย์ถวายการรักษา<ref>Female First,[http://www.femalefirst.co.uk/royal_family/King+Bhumibol-53750.html King Bhumibol to remain in hospital], 12 August 2010</ref> ต่อมาจนถึงเดิอนสิงหาคม พ.ศ. 2556 พระองค์เสด็จพระราชดำเนินแปรพระราชฐานไปประทับ ณ พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล [[อำเภอหัวหิน]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] เพื่อเปลี่ยนพระอิริยาบถ<ref>{{cite news| url=http://www.naewna.com/royal/62520 | work=แนวหน้า | title= ปีติในหลวง-ราชินีเสด็จประทับวังไกลกังวล แพทย์เผยพระอาการปกติ | date=2 สิงหาคม พ.ศ. 2556 | accessdate=19 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref>
 
จนกระทั่งวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2557 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จฯมาประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราช โดยทรงมีพระอาการไข้<ref>{{cite news| url=http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9570000114076 | work=ASTVผู้จัดการออนไลน์ | title=“ในหลวง-ราชินี” เสด็จฯกลับเข้าประทับ รพ.ศิริราช อีกครั้ง | date=3 ตุลาคม พ.ศ. 2557 | accessdate=19 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}{{dead link|date=August 2018}}</ref> คณะแพทย์ได้ถวายการรักษาจนพระอาการทั่วไปดีขึ้นตามลำดับ<ref>{{cite news| url=http://www.komchadluek.net/detail/20141009/193742.html | work=คมชัดลึก | title=แถลงการณ์ฉบับที่5พระอาการ‘ในหลวง’ | date=8 ตุลาคม พ.ศ. 2557 | accessdate=19 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref> ต่อมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินกลับไปประทับ ณ พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล เพื่อเปลี่ยนพระอิริยาบถอีกครั้ง<ref>{{cite news| url=http://www.komchadluek.net/detail/20150509/206004.html | work=คมชัดลึก | title='ในหลวง'เสด็จฯกลับไกลกังวล | date=9 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 | accessdate=19 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref> แต่เสด็จฯไปประทับได้ไม่นาน ก็ทรงกลับมาประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราช<ref>{{cite news| url=http://www.dailynews.co.th/royalnews/325020 | work=เดลินิวส์ | title="ในหลวง"เสด็จ"รพ.ศิริราช" แพทย์ถวายตรวจพระอาการ | date=31 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 | accessdate=19 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref> ตลอดระยะเวลาที่ทรงประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราช จนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2559 พระอาการประชวรได้ดีขึ้นและทรุดลงเป็นครั้งคราว<ref>{{cite news| url=http://www.posttoday.com/social/royal/460161 | work=เดลินิวส์ | title=ลำดับแถลงการณ์ประชวรในหลวง ร.9 | date=14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | accessdate=5 พฤษภาคม พ.ศ. 2559}}</ref> โดยพระราชกรณียกิจครั้งสุดท้ายของพระองค์คือการพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ผู้พิพากษาประจำศาลต่าง ๆ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2558<ref>{{cite news| url=http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1450095487 | work=ประชาชาติ | title="ในหลวง"พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ผู้พิพากษา-อัยการเฝ้าฯถวายสัตย์ก่อนเข้ารับหน้าที่ | date=14 ธันวาคม พ.ศ. 2558 | accessdate=5 พฤษภาคม พ.ศ. 2559}}</ref> และการปรากฏพระองค์ครั้งสุดท้ายคือการเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรสภาพภูมิทัศน์บริเวณโดยรอบสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2559<ref>{{cite news| url=http://www.komchadluek.net/news/royal/220344 | work=คมชัดลึก | title='ในหลวง'เสด็จฯสวนจิตรลดา | date=11 มกราคม พ.ศ. 2559 | accessdate=5 พฤษภาคม พ.ศ. 2559}}</ref>
 
=== เสด็จสวรรคต ===
{{บทความหลัก|การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร}}
{{Wikisource|ประกาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สวรรคต}}
[[ไฟล์:King Bhumibol Adulyadej's golden urn.jpg|thumb|left|พระโกศประกอบพระอิสริยยศพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง]]
[[ไฟล์:Royal crematorium of Bhumibol Adulyadej - 2017-11-05.jpg|thumb|350px|พระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]
 
ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระปรอทต่ำ หายพระทัยเร็ว มีพระเสมหะ [[ปอดอักเสบ|พระปับผาสะซ้ายอักเสบ]] มี[[ภาวะเลือดเป็นกรดเมตะบอลิก|พระโลหิตเป็นกรด]] และพบว่ามี[[น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด|น้ำคั่งในช่องเยื่อหุ้มพระปัปผาสะ]]เล็กน้อย<ref>{{cite news| url= http://www.matichon.co.th/news/305309 | work= มติชน | title= แถลงการณ์พระอาการ “ในหลวง” ฉบับที่ 36 | date= 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | accessdate= 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 }}</ref> คณะแพทย์จึงทำการรักษาด้วย[[ยาปฏิชีวนะ|พระโอสถปฏิชีวนะ]] และใช้[[สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง|สายสวนเข้าหลอดพระโลหิตดำ]]เพื่อ[[การชำระเลือดผ่านเยื่อ|ฟอกพระโลหิต]] แต่มี[[ความดันโลหิตต่ำ|พระความดันพระโลหิตต่ำ]]จึงใช้[[เครื่องช่วยหายใจ|เครื่องช่วยหายพระทัย]] พระอาการไม่คงที่<ref>{{cite news| url= https://www.khaosod.co.th/hot-topics/news_41448 | work= ข่าวสด | title= แถลงฉบับที่ 37-พระอาการ “ในหลวง” คณะแพทย์เฝ้าติดตามถวายการรักษาใกล้ชิด | date= 10 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | accessdate= 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 }}</ref> ก่อนที่พระอาการจะทรุดลงไปอีก มี[[ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ|การติดเชื้อในกระแสพระโลหิต]]<ref>{{cite news| url= http://www.thairath.co.th/content/751812 | work= ไทยรัฐ | title= แถลงการณ์ ฉ.38 ในหลวงพระโลหิตติดเชื้อ พระอาการไม่คงที่ ถวายรักษาใกล้ชิด | date= 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | accessdate= 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 }}</ref> จนเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 พระอาการประชวรได้ทรุดหนักลงตามลำดับ และสวรรคตเมื่อเวลา 15.52 น. รวมพระชนมายุ 88 พรรษา ทรงครองราชสมบัติได้ 70 ปี 4 เดือน 4 วัน<ref>[http://www.udonthani.go.th/2014/pdf/901_13102559.pdf ประกาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร สวรรคต], สำนักพระราชวัง, เข้าถึงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559</ref><ref>[http://www.matichon.co.th/news/322373 วิษณุ ชี้ เริ่มรัชสมัยรัชกาลใหม่ตั้งแต่ 13 ต.ค. พระราชพิธีราชาภิเษกทำหลังการถวายพระเพลิง], มติชน, เข้าถึงวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559</ref>
 
วันศุกร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 16.00 น. [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ครั้งยังเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พร้อมด้วย[[พระบรมวงศานุวงศ์]]ได้เสด็จพระราชดำเนินไป[[โรงพยาบาลศิริราช]] เพื่อเคลื่อนพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไปยัง[[พระบรมมหาราชวัง]] มีพระราชพิธีถวายสรงน้ำพระบรมศพ ณ [[พระที่นั่งพิมานรัตยา]] มีการเชิญพระบรมศพลงสู่[[หีบศพ|พระหีบ]] ประดิษฐานหลังพระแท่นแว่นฟ้าทอง ประกอบ[[พระโกศทองใหญ่]] ภายใต้[[นพปฎลมหาเศวตฉัตร]] ณ [[พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท]] ภายใน[[พระบรมมหาราชวัง]]
 
รัฐบาลประกาศให้สถานที่ราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐและสถานศึกษาทุกแห่ง ลดธงครึ่งเสา 30 วัน และให้ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่รัฐไว้ทุกข์ 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/234/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสวรรคต],ราชกิจจานุเบกษา, เข้าถึงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559</ref> คณะรัฐมนตรีมีมติกำหนดให้วันที่ 13 ตุลาคมของทุกปีเป็นวันหยุดราชการ เพื่อให้ประชาชนน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ<ref>[http://soc.soc.go.th/SLK/showlist3.asp?pagecode=148508&pdate=2017/04/12&pno=1&pagegroup=3 การพิจารณากำหนดวันหยุดราชการประจำปีเพิ่ม (นร ๐๕๐๗/ว ๑๗๘)]</ref> มี[[พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ]] ในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560<ref>[http://www.bbc.com/thai/thailand-39703463 ครม.เห็นชอบวันถวายพระเพลิงพระบรมศพในหลวง ร. 9] บีบีซีไทย, เข้าถึงวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2560</ref>
บรรทัด 200:
ต่อมาในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระบรมราชโองการให้เฉลิมพระปรมาภิไธยพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมชนกนาถขึ้นเป็น '''พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร''' ใน[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=136|issue=15ข|pages=1|title=ประกาศสถาปนา|url=https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/B/015/T_0001.PDF|date=5 พฤษภาคม พ.ศ. 2562|language=ไทย}}</ref> ในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ประกาศ เรื่อง พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย คำอ่าน และสรรพนาม คำขึ้นต้น คำลงท้าย ในการกราบบังคมทูล กราบทูล ได้ระบุพระปรมาภิไธยอย่างย่อไว้ว่า '''พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร'''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=136|issue=177 ง|pages=1|title=ประกาศ เรื่อง พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย คำอ่าน และสรรพนาม คำขึ้นต้น คำลงท้าย ในการกราบบังคมทูล กราบทูล|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/117/T_0001.PDF|date=10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562|language=ไทย}}</ref>
 
วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระบรมราชโองการให้วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันสำคัญของชาติไทย เนื่องจากเป็นวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร, [[วันชาติ (ประเทศไทย)|วันชาติไทย]] และ[[วันพ่อแห่งชาติ]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/129/T_0001.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง การกำหนดวันสำคัญของชาติไทย (วันที่ ๕ ธันวาคม)]</ref> และเป็นวันหยุดราชการ
 
== สถานะพระมหากษัตริย์ ==
[[ไฟล์:King Bhumibol Adulyadej.jpg|thumb|200px|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรประทับบน[[พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์]] ภายใต้[[พระนพปฏลมหาเศวตฉัตร]]]]
ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] พระองค์ทรงเป็น[[ประมุขแห่งรัฐ]] [[จอมทัพไทย]] และ[[อัครศาสนูปถัมภก]] และเป็น[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ|พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ]] ในรัชสมัยของพระองค์ เกิด[[รัฐประหาร]] 11 ครั้ง เหตุการณ์[[กบฏในประเทศไทย|กบฏ]] 9 ครั้ง เหตุการณ์[[การก่อการกำเริบโดยประชาชน]]จนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงรัฐบาล 2 ครั้งได้แก่ [[เหตุการณ์ 14 ตุลา]] และ [[พฤษภาทมิฬ]] รัฐธรรมนูญ 16 ฉบับ และการเปลี่ยนแปลงนายกรัฐมนตรี 26 คน<ref>{{cite news| url=http://www.guardian.co.uk/world/2009/oct/15/thailand-bhumibol-stockmarket-sickness | work=The Guardian | location=London | title=Fears for Thai monarch set stockmarket tumbling for second day | date=15 October 2009 | accessdate=13 April 2010 | first=Ben | last=Doherty}}</ref>
 
บรรทัด 209:
 
=== บทบาททางการเมืองไทย ===
[[ไฟล์:200535.jpg|thumb|200px|พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงโปรดเกล้าฯ ให้พลเอก สุจินดาและพลตรี จำลองเข้าเฝ้า]]
พระองค์ทรงมีบทบาทใน[[การเมืองไทย]]หลายครั้ง ได้ทรงหยุดยั้งการกบฏ เช่น [[กบฏยังเติร์ก]] ในปี พ.ศ. 2524 และ [[กบฏทหารนอกราชการ]] ในปี พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของพระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ บทบาททางการเมืองที่สำคัญของพระองค์ อาทิ สมัยรัฐบาลจอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหารในเหตุการณ์[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500]] และเมื่อรัฐบาลทหารของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เถลิงอำนาจ รัฐบาลได้ฟื้นฟูพระราชอำนาจพระมหากษัตริย์ โดยอนุญาตให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จออกประชาชนเป็นอันมาก ให้เสด็จประภาสในถิ่นทุรกันดาร และตั้งงบประมาณสนับสนุนโครงการพัฒนาที่พระองค์มีพระราชดำริริเริ่มด้วย นอกจากนี้วันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ([[5 ธันวาคม]]) ก็ได้รับการประกาศให้เป็น[[วันชาติ (ประเทศไทย)|วันชาติไทย]] แทนที่วันที่ [[24 มิถุนายน]] อันตรงกับวันที่[[คณะราษฎร]]ได้เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นผลสำเร็จด้วย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2503/D/043/1452.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้ถือวันพระราชสมภพ เป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทย], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 77 ตอน 43 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 หน้า 1452</ref> ทั้งนี้ [[พระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล)]] [[องคมนตรี]] ได้กล่าวต่อมาว่า ไม่เคยมีนายกรัฐมนตรีคนใดที่มีความใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์เท่ากับจอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] มาก่อนเลย<ref name="constitutional160"/>
 
บรรทัด 228:
อำนาจตามรัฐธรรมนูญของพระองค์มักเป็นที่ถกเถียงกัน บางส่วนเพราะความเป็นที่นิยมอย่างล้นหลามของพระองค์และบางส่วนเป็นเพราะอำนาจของพระองค์มักถูกตีความขัดกันแม้จะมีนิยามอย่างชัดเจนในรัฐธรรมนูญแล้วก็ตาม ยกตัวอย่างเช่นการแต่งตั้ง[[จารุวรรณ เมณฑกา]]เป็นผู้ตรวจเงินแผ่นดิน ทว่า [[ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|ศาลรัฐธรรมนูญ]]วินิจฉัยว่าการแต่งตั้งเธอขัดต่อรัฐธรรมนูญ เมื่อรัฐสภาเลือกผู้ดำรงตำแหน่งแทนจารุวรรณ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงปฏิเสธเขา<ref>{{cite web |date=9 September 2005|url=http://www.nationmultimedia.com/specials/polcrisis/p25.php |title='My govt serves His Majesty' |publisher=The Nation |accessdate=14 August 2006}}{{dead link|date=August 2018}}</ref> วุฒิสภาปฏิเสธลงคะแนนยกเลิกการยับยั้งของพระองค์<ref>{{cite web |date=11 October 2005|url=http://www.nationmultimedia.com/specials/polcrisis/p53.php |title=Senate steers clear of motion on Jaruvan |publisher=The Nation |accessdate=14 August 2006| archiveurl= http://web.archive.org/web/20060828215631/http://www.nationmultimedia.com/specials/polcrisis/p53.php| archivedate= 28 August 2006| deadurl= no}}</ref> สุดท้ายในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินให้จารุวรรณกลับเข้ารับตำแหน่ง หนังสือพิมพ์''ผู้จัดการ''อธิบายว่ากรณีนี้เป็นความพยายามของวุฒิสภาเพื่อบีบบังคับให้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทำตามความปรารถนาของพวกตน<ref name="manager1">{{cite news| url=http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9480000065539 | work=ASTV ผู้จัดการ | title=ต้องหยุดยั้งการละเมิดในหลวง! | date=17 พ.ค. 2548 | accessdate=15 มิ.ย. 2558}}{{dead link|date=August 2018}}</ref> ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า เนื่องจากรัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติเฉพาะว่าพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งผู้ตรวจเงินแผ่นดินตามคำแนะนำของวุฒิสภา การพ้นจากตำแหน่งจึงต้องมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้พ้นจากตำแหน่งเท่านั้น<ref name="manager1"/>
 
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงยับยั้งกฎหมายน้อยครั้ง พอล แฮนด์ลีย์เขียนใน ''เดอะคิงเนเวอร์สไมล์'' ว่าในปี พ.ศ. 2519 เมื่อรัฐสภาลงคะแนนเสียงเห็นชอบเพื่อขยายการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตยสู่ระดับอำเภอ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงปฏิเสธลงพระปรมาภิไธยกฎหมาย<ref>{{cite book |author=Handley, Paul M. |title=The King Never Smiles: A Biography of Thailand's Bhumibol Adulyadej |publisher=Yale University Press |year=2006 |page=233 |isbn=0-300-10682-3}}</ref> รัฐสภาไม่ยอมออกเสียงยกเลิกการยับยั้งของพระองค์ ในปี พ.ศ. 2497 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงยับยั้งกฎหมายปฏิรูปที่ดินที่รัฐสภาเห็นชอบสองครั้งก่อนทรงยินยอมลงพระปรมาภิไธย<ref>{{cite book |author=Handley, Paul M. |title=The King Never Smiles: A Biography of Thailand's Bhumibol Adulyadej |publisher=Yale University Press |year=2006 |page=126 |isbn=0-300-10682-3}}</ref> บางทีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไม่ทรงใช้พระราชอำนาจนี้ยับยั้งการตรากฎหมาย เช่น ใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517]] มาตรา 107 วรรค 2 ซึ่งบัญญัติว่า ให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา พระองค์ไม่ทรงเห็นด้วย แต่ก็ไม่ทรงใช้พระราชอำนาจยับยั้งโดยตรง เพียงแต่มีพระราชกระแสท้ายร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ว่า ไม่ทรงเห็นด้วยกับมาตรา 107 วรรค 2 แห่งร่างรัฐธรรมนูญนี้เป็นอย่างยิ่ง เพราะประธานองคมนตรีเป็นผู้ที่พระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้งตามพระราชอัธยาศัย<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง=จีรวัฒน์ ครองแก้ว| ชื่อหนังสือ=องคมนตรี ศักดิ์ศรีแผ่นดิน| URL= | จังหวัด=กรุงเทพ| พิมพ์ที่=มูลนิธิทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ| ปี= พ.ศ. 2550| ISBN=978-974-7362-09-1| หน้า=หน้าที่ 34| จำนวนหน้า=269}}</ref> ซึ่งขัดกับหลักที่ว่า พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ทั้งจะทำให้ประธานองคมนตรีอยู่ในสภาพเสมือนเป็นองค์กรทางการเมือง<ref>{{cite news| url=http://www.chaoprayanews.com/2012/05/10/“ในหลวง”กับการทรงใช้“พ/ | work= เจ้าพระยา | title=“ในหลวง”กับการทรงใช้“พระราชอำนาจ”ตามรัฐธรรมนูญ | date=10 พ.ค. 2555 | accessdate=15 มิ.ย. 2558}}</ref>
 
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญอภัยโทษอาชญากร แม้มีเกณฑ์หลายข้อสำหรับการได้รับพระราชทานอภัยโทษ ซึ่งรวมอายุและโทษที่ยังเหลืออยู่ การอภัยโทษผู้ข่มขืนกระทำชำเราและช่างภาพเปลือยเด็กชาวออสเตรเลียผู้หนึ่ง ซึ่งก่อให้เกิดข้อโต้เถียง<ref>{{cite web |year=2006 |url=http://www.nationmultimedia.com/breakingnews/read.php?newsid=30007691 |title=Aussie pedophile free on royal pardon |publisher=The Nation |accessdate=5 July 2006|archiveurl = http://web.archive.org/web/20060707203217/http://www.nationmultimedia.com/breakingnews/read.php?newsid=30007691 |archivedate = 7 July 2006}}</ref><ref>{{cite web |last=McDonald |first=Phillipa |date=30 June 2006|url=http://www.abc.net.au/news/newsitems/200606/s1675208.htm |title=Campaigners condemn paedophile's release |publisher=ABC News Online |accessdate=5 July 2006| archiveurl= http://web.archive.org/web/20060702065255/http://www.abc.net.au/news/newsitems/200606/s1675208.htm| archivedate= 2 July 2006| deadurl= no}}</ref><ref>{{cite web |title=Australian pedophile gets Thai royal pardon |accessdate= 30 June 2006 |url=http://www.smh.com.au/news/world/australian-pedophile-gets-thai-royal-pardon/2006/06/30/1151174389656.html| archivedate= 30 June 2006| deadurl= no}}</ref>
ซึ่งรัฐธรรมนูญได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ทรงไว้ ซึ่งพระราชอำนาจในการพระราชทานอภัยโทษ โดยการพระราชอภัยโทษจะแบ่งได้เป็น ๒ กรณี คือ คือการพระราชทานอภัยโทษเป็นการเฉพาะราย และการพระราชทานอภัยโทษเป็นการทั่วไป ทั้งนี้ กรณีการพระราชทานอภัยโทษเป็นการเฉพาะราย หากผู้ต้องคำพิพากษามีคุณสมบัติตามกฎหมาย จะมีสิทธิทูลเกล้าฯ ถวายเรื่องราวหรือถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษได้ <ref> จุลนิติ, http://web.senate.go.th/lawdatacenter/includes/FCKeditor/upload/Image/b/all/all18.pdf สารพันปัญหากฎหมาย, หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขอพระราชการอภัยโทษ, จุลนิติ พ.ย. - ธ.ค. ๕๒, นางสาวอริยพร โพธิใส</ref> <ref>[https://freedom.ilaw.or.th/RoyalPardon2013 ขอพระราชทานอภัยโทษ" ช่องว่างบนเส้นทางสู่อิสรภาพ]
บีไอลอว์, เข้าถึงวันที่ เมื่อ 9 ตุลาคม 2013 </ref>
บรรทัด 239:
ประชาชนทั่วไปนิยมเรียกพระองค์ว่า "ในหลวง" ซึ่งคาดว่าย่อมาจาก "ใน ([[พระบรมมหาราชวัง]]) หลวง" หรืออาจออกเสียงเพี้ยนมาจากคำว่า "นายหลวง" ซึ่งแปลว่า "เจ้านายผู้เป็นใหญ่"
 
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็นพุทธมามกะ ทรงออกผนวช ทรงโปรดให้มีการ[[สังคายนาในศาสนาพุทธ|สังคายนาพระไตรปิฎก]] ทรงสร้าง[[พระสมเด็จจิตรลดา]]ด้วยพระองค์เอง<ref>ประมุข ไชยวรรณ, พระพิมพ์จิตรลดา พระพิมพ์ฝีพระหัตถ์ขององค์พระประมุขของชาติ พิมพ์ครั้งที่ 1, 2541, 319 หน้า, หน้า 8</ref> และนอกจากนี้ยังเป็น[[อัครศาสนูปถัมภก]] ทรงเกื้อกูล ค้ำจุนทุกศาสนาอย่างเสมอภาค<ref>{{cite web|title=พระราชสถานะ|url=http://power.manager.co.th/25-37.html|publisher=ประมวล รุจนเสรี|date=ม.ป.ป.|accessdate=4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555}}</ref> ทรงสนับสนุนพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อใช้แปลพระคัมภีร์[[อัลกุรอาน]]เป็นภาษาไทยเมื่อ พ.ศ. 2505
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงจัดตั้งโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริกว่า 4,741 โครงการ<ref>{{cite web|url=http://www.rdpb.go.th/Projects |title=โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ|accessdate=6 สิงหาคม พ.ศ. 2561}}</ref> นอกจากนี้ยังเสด็จเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดาร โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่สำคัญที่สุดจนทำให้พระองค์ทรงเป็นที่สรรเสริญในประเทศไทย คือ ปรัชญา[[เศรษฐกิจพอเพียง]]<ref name="autogenerated2006"/> ซึ่งพระองค์ได้ปฏิบัติพระองค์เองเป็นแบบอย่าง โปรดให้มีการการปลูกข้าว การเลี้ยงโคนม การเพาะพันธุ์ปลานิลขึ้นในสวนจิตรลดา ทรงเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านการประหยัด ตัวอย่างเช่น ทรงใช้ดินสอเดือนละ 1 แท่ง หรือการใช้ยาสีพระทนต์จดหมดหลอด นอกจากนั้นยังไม่ทรงโปรดสวมเครื่องประดับใด ๆ เลย ยกเว้นแต่นาฬิกาข้อมือ<ref>{{cite news| url=http://www.chaoprayanews.com/2013/04/12/“ในหลวง”-แสดงให้เห็นถึง/ | work=เจ้าพระยา | title=“ในหลวง” แสดงให้เห็นถึงความประหยัด | date=12 เมษายน พ.ศ. 2556 | accessdate=20 มิถุนายน พ.ศ. 2558}}</ref>
บรรทัด 250:
=== กีฬา ===
{{บทความหลัก2|การเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช}}
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดกีฬาเรือใบเป็นพิเศษ พระองค์ทรงเป็นตัวแทนของประเทศไทยแข่งเรือใบใน[[กีฬาแหลมทอง]]ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ [[9 ธันวาคม|9]]-[[16 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2510]] ที่[[ประเทศไทย]]เป็นเจ้าภาพ โดยทรงเข้าค่ายฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกซ้อม และทรงได้รับเบี้ยเลี้ยงในฐานะนักกีฬา ซึ่งพระองค์ทรงชนะเลิศเหรียญทอง และทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลเหรียญทองจาก[[สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] เมื่อวันที่ [[16 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2510]]<ref>{{cite web |last=Cummins |first=Peter |month=December |year=2004 |url=http://www.chiangmai-mail.com/111/special.shtml |title=His Majesty King Bhumibol Adulyadej The Great: Monarch of Peace and Unity |publisher=Chiang Mai Mail |accessdate=20 July 2006}}</ref> นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงออกแบบและประดิษฐ์เรือใบยามว่างหลายรุ่น พระองค์พระราชทานนามเรือใบประเภทม็อธ (Moth) ที่ทรงสร้างขึ้นว่า [[เรือใบมด]] [[เรือใบซูเปอร์มด]] และ[[เรือใบไมโครมด]] ถึงแม้ว่าเรือใบลำสุดท้ายที่พระองค์ทรงต่อคือ เรือโม้ค (Moke) เมื่อ [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2510]] เรือใบซูเปอร์มดยังถูกใช้แข่งขันในระดับนานาชาติที่จัดในประเทศไทยหลายครั้ง ครั้งสุดท้าย คือ เมื่อปี [[พ.ศ. 2528]] ใน[[ซีเกมส์ 1985|กีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 13]]<ref>,กองทัพเรือไทย, [http://www3.navy.mi.th/index.php/royal/detail/content_id/53 ข้อมูลเทิดพระเกียรติ โดยกองทัพเรือ]</ref>
 
=== ดนตรี ===
บรรทัด 459:
* ในปี พ.ศ. 2550 [[องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก]] (World Intellectual Property Organization) แถลงข่าวการทูลเกล้าฯ ถวาย "เหรียญรางวัลผู้นำโลกด้านทรัพย์สินทางปัญญา" (Global Leaders Award)<ref>ห้องข่าว WIPO [http://www.wipo.int/pressroom/en/articles/2007/article_0004.html King of Thailand to Receive WIPO's First Global Leaders Award]</ref> โดยนายฟรานซิส เกอร์รี่ ผู้อำนวยการใหญ่เป็นผู้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย ณ พระราชวังไกลกังวล ในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2552 เพื่อเทิดพระเกียรติที่ทรงมีบทบาทและผลงานด้านทรัพย์สินทางปัญญาที่โดดเด่น และพระองค์ทรงเป็นผู้นำโลกคนแรกที่องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลกทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัลดังกล่าว<ref>มติชนรายวัน วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2552 ปีที่ 32 ฉบับที่ 11267 [http://www.matichon.co.th/matichon/view_news.php?newsid=01p0101140152&sectionid=0101&selday=2009-01-14 เทิดพระเกียรติ]{{Dead link|date=พฤษภาคม 2560}}</ref>
* วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2555 [[สหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ]] (International Union of Soil Sciences-IUSS) นำโดยอดีตเลขาธิการสหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดินเพื่อมนุษยธรรม (The Humanitarian Soil Scientist)<ref>[http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9550000047473 สหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินฯ ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดินเพื่อมนุษยธรรม]{{dead link|date=August 2018}}</ref> เป็นพระองค์แรกของโลก<ref>'''เดลินิวส์'''. ฉบับที่ 22,832, วันอังคารที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2555. ISSN 16860004. หน้า 1, 15</ref>
 
* พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็นผู้ที่ได้รับมอบถวายปริญญากิตติมศักดิ์มากเป็นสถิติโลกถึง 176 ฉบับ <ref>[http://www.graduateth.com/blog/6 รายชื่อปริญญากิตติมศักดิ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9)]</ref>ใน พ.ศ. 2555<ref>{{cite book |author=Handley, Paul M. |title=The King Never Smiles |publisher=Yale University Press |year=2006 |pages=417 |isbn=0-300-10682-3}}</ref> โดยทรงได้รับมอบถวายจากมหาวิทยาลัยในประเทศไทยเป็นส่วนใหญ่
* เว็บไซต์ We Love My King รายงานโดยอ้างอิงข้อมูลจากเว็บไซต์ thaitribune.org ว่า ปทานุกรมระดับโลก เอ็นไซโคลปีเดีย บริตานิกา (Encyclopaedia Britannica) ได้เทิดพระเกียรติอย่างยิ่งในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ด้วยการบรรจุพระนาม “ภูมิพล (Bhumibol)” ลงในหนังสือ “เอ็นไซโคลปีเดีย บริตานิกา” ฉบับปี ค.ศ. 2017 (หรือ พ.ศ. 2560) หนังสือเอ็นไซโคลปีเดีย บริตานิกา ฉบับปี ค.ศ. 2017 ว่า “อภิมหาบุคคลแห่งประวัติศาสตร์ที่จะยังอยู่ชั่วนานแสนนานของประวัติศาสตร์แห่งมนุษยชาติ” ทั้งนี้ หนังสือสารานุกรมที่มีชื่อว่า “เอ็นไซโคลปีเดีย บริตานิกา” ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี 2311 หนังสือชุดแรกตีพิมพ์ที่เมืองเอดินเบอระ ประเทศสกอตแลนด์ ก่อนย้ายฐานการผลิตไปยังสหรัฐอเมริกา ในปี 2444 และกลายเป็นคลังข้อมูลสำคัญของโลกที่เกิดจากทีมงาน ที่ประกอบด้วยบรรณาธิการที่ทำงานเต็มเวลากว่า 100 คน และผู้เขียนบทความ ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญมากกว่า 4,000 คน <ref>{{cite web |year=2019 |url=https://www.sanook.com/news/7678082/ |title=สารานุกรมระดับโลกเทิดพระเกียรติ “ในหลวง ร.9” ทรงเป็นอภิมหาบุคคลแห่งประวัติศาสตร์ |publisher=Encyclopædia Britannica, Inc. |accessdate=2019-06-24}}</ref> [[ไฟล์:Rama9 By Britannica.jpg|thumb|]]
 
=== พระยศทหาร ===
บรรทัด 501:
| [[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] || 2 เมษายน พ.ศ. 2498 || colspan="4" style="text-align:center;"| มิได้เสกสมรส
|-
|rowspan="2" | [[สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี|สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี]] ||rowspan="2" | 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ||rowspan="2" | พ.ศ. 2525<br><small>หย่า พ.ศ. 2539</small> ||rowspan="2" | [[วีระยุทธ ดิษยะศริน]] || [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์]]||
|-
|[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ]] ||