ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบอร์ลิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
ฮัมบูร์ก→ฮัมบวร์ค
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "จอร์จ" → "เกออร์ค" +แทนที่ "วิลเลียม" → "วิลเฮ็ล์ม" +แทนที่ "เฟรเดอริก" → "ฟรีดริช" +แทนที่ "2492" → "1949" +แทนที่ "2533" → "1990" +แทนที่ "เบรเมน" → "เบรเมิน" ด้วยสจห.
บรรทัด 27:
| area_total_sq_mi = 344
|
| population_as_of = ในปี พ.ศ. 25502007
| population_footnotes = <ref>{{cite web |url=http://www.statistik-portal.de/Statistik-Portal/de_zs01_bl.asp |title=State population |work=Portal of the Federal Statistics Office Germany |accessdate=2007-04-25}}</ref>
| total_type = เบอร์ลิน
บรรทัด 69:
 
[[สงครามสามสิบปี]]ระหว่าง ค.ศ. 1618 และ 1648 ทำให้เบอร์ลินได้รับความเสียหายอย่างใหญ่หลวง
บ้านเรือนหนึ่งในสามเสียหาย และประชากรลดเหลือครึ่งเดียว<ref>[http://www.zum.de/whkmla/region/germany/bra30.html Brandenburg during the 30 Years War] {{en icon}}, WHKMLA, เรียกข้อมูลวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2551</ref> [[เฟรเดอริกฟรีดริช วิลเลียมวิลเฮ็ล์ม ผู้คัดเลือกแห่งบรันเดินบวร์ค|ฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม]] <!-- Frederick William, Elector of Brandenburg --> “เจ้าชายผู้ยิ่งใหญ่”
ซึ่งสืบอำนาจเป็นผู้ปกครองต่อจาก [[จอร์จเกออร์ค วิลเลียมวิลเฮ็ล์ม แห่งบรันเดินบวร์ค]] <!-- George William of Brandenburg --> ผู้บิดาใน ค.ศ. 1640 ได้ริเริ่มนโยบายส่งเสริม[[การอพยพย้ายถิ่น]]และ[[เสรีภาพในการนับถือศาสนา]] ด้วย[[กฤษฎีกาแห่งพ็อทซ์ดัม]] (Edict of Potsdam) ใน ค.ศ. 1685 เฟรเดอริกฟรีดริชได้เสนอที่ลี้ภัยให้กับพวก[[ฮิวเกอโนต์]]<!-- Huguenot -->ซึ่งเป็นพวกโปรเตสแตนท์ชาวฝรั่งเศส ฮิวเกอโนต์มากกว่า 15,000 คนได้มายังบรันเดินบวร์ค ในจำนวนนั้น 6,000 คนตั้งถิ่นฐานในเบอร์ลิน ใน ค.ศ. 1700 ประมาณร้อยละยี่สิบของผู้อยู่อาศัยในเบอร์ลินเป็นชาวฝรั่งเศส และอิทธิพลทางวัฒนธรรมของพวกเขาแก่เมืองนั้นมีมหาศาล
ผู้อพยพอื่น ๆ จำนวนมากมาจาก[[โบฮีเมีย]] โปแลนด์<!-- Polish-Lithuanian Commonwealth --> และซาลซ์บูร์ก<!-- Archbishopric of Salzburg -->
 
=== คริสต์ศตวรรษที่ 20 ===
หลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เมืองเบอร์ลินถูกแยกเป็นสองส่วน ระหว่างปี .ศ. 24921949-25331990 คือ [[เบอร์ลินตะวันออก]] และ [[เบอร์ลินตะวันตก]] ฝั่งตะวันออกปกครองโดย[[สหภาพโซเวียต]] ส่วนฝั่งตะวันตกปกครองโดย [[สหรัฐอเมริกา]] [[สหราชอาณาจักร]] และ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] โดยในช่วงแรก การแบ่งเขตเป็นไปอย่างไม่เคร่งเครียดนัก ประชาชนของทั้งสองฝั่งสามารถไปมาหาสู่กันได้ จนกระทั่ง[[สงครามเย็น]]ถึงจุดตึงเครียด รัฐบาลเบอร์ลินตะวันออกได้สร้าง[[กำแพงเบอร์ลิน]]ขึ้นเมื่อ [[13 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2504]]1961<ref>[http://www.britannica.com/eb/article-9078806 Berlin Wall] {{en icon}}, [[สารานุกรมบริเตนนิกา]], เรียกข้อมูลวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549</ref> ล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก ตัดขาดสองฝั่งของเมืองออกจากกันอย่างสิ้นเชิง
 
ช่วงที่เยอรมนียังถูกแบ่งออกเป็นสองประเทศ [[ประเทศเยอรมนีตะวันออก]]ถือเอาเบอร์ลินตะวันออกเป็นเมืองหลวงของตน (แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากชาติพันธมิตรตะวันตก) ส่วนเมืองหลวงของ[[ประเทศเยอรมนีตะวันตก]]คือ[[บอนน์]] (และโดยฐานะอย่างเป็นทางการแล้ว เบอร์ลินตะวันตกก็ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของประเทศเยอรมนีตะวันตก) หลังจากการรวมประเทศเมื่อ [[3 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 25331990]] เบอร์ลินก็กลับมาเป็นเมืองหลวงของประเทศเยอรมนีอีกครั้งหนึ่ง
หลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เมืองเบอร์ลินถูกแยกเป็นสองส่วน ระหว่างปี พ.ศ. 2492-2533 คือ [[เบอร์ลินตะวันออก]] และ [[เบอร์ลินตะวันตก]] ฝั่งตะวันออกปกครองโดย[[สหภาพโซเวียต]] ส่วนฝั่งตะวันตกปกครองโดย [[สหรัฐอเมริกา]] [[สหราชอาณาจักร]] และ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] โดยในช่วงแรก การแบ่งเขตเป็นไปอย่างไม่เคร่งเครียดนัก ประชาชนของทั้งสองฝั่งสามารถไปมาหาสู่กันได้ จนกระทั่ง[[สงครามเย็น]]ถึงจุดตึงเครียด รัฐบาลเบอร์ลินตะวันออกได้สร้าง[[กำแพงเบอร์ลิน]]ขึ้นเมื่อ [[13 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2504]]<ref>[http://www.britannica.com/eb/article-9078806 Berlin Wall] {{en icon}}, [[สารานุกรมบริเตนนิกา]], เรียกข้อมูลวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549</ref> ล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก ตัดขาดสองฝั่งของเมืองออกจากกันอย่างสิ้นเชิง
 
ช่วงที่เยอรมนียังถูกแบ่งออกเป็นสองประเทศ [[ประเทศเยอรมนีตะวันออก]]ถือเอาเบอร์ลินตะวันออกเป็นเมืองหลวงของตน (แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากชาติพันธมิตรตะวันตก) ส่วนเมืองหลวงของ[[ประเทศเยอรมนีตะวันตก]]คือ[[บอนน์]] (และโดยฐานะอย่างเป็นทางการแล้ว เบอร์ลินตะวันตกก็ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของประเทศเยอรมนีตะวันตก) หลังจากการรวมประเทศเมื่อ [[3 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2533]] เบอร์ลินก็กลับมาเป็นเมืองหลวงของประเทศเยอรมนีอีกครั้งหนึ่ง
 
== ภูมิศาสตร์ ==
เส้น 166 ⟶ 165:
มันเป็นหลักฐานของการแบ่งแยกเมืองในสมัยก่อนที่ยังหลงเหลืออยู่ชิ้นใหญ่ที่สุด มันเพิ่งจะบูรณะเสร็จเมื่อไม่นานมานี้
 
เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม .ศ. 25512008 ยูเนสโกได้ประกาศให้โครงการที่พักอาศัยแนว[[สมัยใหม่นิยม]]ในเบอร์ลินหกแห่งเป็น[[มรดกโลก]]<ref>ข่าวสดรายวัน, [http://www.matichon.co.th/khaosod/view_news.php?newsid=TURObWIzSXdOREE1TURjMU1RPT0=&sectionid=TURNd05nPT0=&day=TWpBd09DMHdOeTB3T1E9PQ "อพาร์ตเมนต์เบอร์ลิน"ติด"มรดกโลก"], 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ปีที่ 18 ฉบับที่ 6432</ref> กลุ่มอาคารที่พักอาศัยดังกล่าวสร้างขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ช่วงปี ค.ศ. 1913 - 1934 ในสมัย[[สาธารณรัฐไวมาร์]] กลุ่มอาคารซึ่งออกแบบโดยสถาปนิกอาวองการ์ด [[บรูโน เทาต์]] [[มาร์ตินมาร์ทิน วากเนอร์]] [[วอลเตอร์ โกรเปียส]] และ [[ฮันส์ ชาเราน์]] เหล่านี้ ได้กลายเป็นตัวแบบของที่พักเพื่อสังคม ซึ่งได้พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้พักอาศัยชนชั้นกรรมาชีพที่มีรายได้น้อย และปฏิรูปความคิดด้านการออกแบบ สถาปัตยกรรม และการผังเมือง อาคารเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของอพาร์ตเมนต์สมัยใหม่รุ่นแรกของโลก ที่มีครัว ห้องน้ำ ระเบียง และหน้าต่างที่ใหญ่เพียงพอ จากมรดกโลกจำนวนทั้งหมด 850 แห่ง อาคารเหล่านี้เป็นหนึ่งในเพียง 21 แห่งจากยุคสมัยใหม่<ref>Deutsche Welle, [http://www.dw-world.de/dw/article/0, ,3467726, 00.html?maca=en-bonn-691-rdf Six Berlin Housing Projects Declared World Heritage Sites] {{en icon}}, 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551</ref>
 
== การปกครอง ==
เบอร์ลินเป็นเมืองหลวงของ[[สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี]] และเป็นที่อยู่ของ[[ประธานาธิบดีแห่งเยอรมนี]] ซึ่งมีที่อาศัยอย่างเป็นทางการที่วัง ''Schloss Bellevue''<ref>[http://www.bundespraesident.de/en Bundespräsident Horst Köhler] {{en icon}}, www.bundespraesident.de, เรียกข้อมูลวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549</ref> ตั้งแต่[[การรวมประเทศเยอรมนี]]เมื่อ [[3 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2533]]1990 เบอร์ลินก็กลายเป็นหนึ่งในสาม[[นครรัฐ]] เคียงคู่กับ [[ฮัมบวร์ค]] และ [[เบรเมนเบรเมิน]], ในทั้งหมด 16 รัฐของเยอรมนี
สภาสหพันธ์ (Bundesrat) เป็นตัวแทนของรัฐสหพันธ์ (Bundesländer) ทั้งหลายของเยอรมนี และมีที่ตั้งที่อยู่ที่อาคารทำเนียบแฮร์เริน (Herrenhaus) ซึ่งเคยเป็นสภาขุนนางของ[[ปรัสเซีย]]ในอดีต
แม้กระทรวงส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ในเบอร์ลิน แต่บางส่วน รวมถึงกรมเล็ก ๆ ก็ตั้งอยู่ที่[[บอนน์]] เมืองหลวงเก่าของเยอรมนีตะวันตก
[[สหภาพยุโรป]]ลงทุนในหลายโครงการภายในเมืองเบอร์ลิน โดยส่วนใหญ่แล้วแผนงานด้านสาธารณูปโภค การศึกษา และสังคม จะได้ทุนสนับสนุนร่วมจากงบประมาณจากกองทุนเพื่อความเชื่อมแน่นของอียู (EU Cohesion Fund) <ref>[http://www.erasmuspc.com/index.php?option=com_content&task=view&id=303&Itemid=61 URBAN regeneration, an European Commission initiative] {{en icon}}, ErasmusPC, เรียกข้อมูลวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2550</ref>
 
งบประมาณรัฐประจำปีของเบอร์ลินใน .ศ. 25492006 นั้นเกิน 20.5 พันล้านยูโร โดยมีงบขาดดุล 1.8 พันล้านยูโร<ref>[http://www.berlin.de/imperia/md/content/senatsverwaltungen/finanzen/zentrales/presse/pressemitteilungen2007/060104_abschluss_anlage_1.pdf_anlage1u.2.pdf Berlin annual statement of accounts 2006]<!-- application/pdf, 73383 bytes -->, Senatsverwaltung Finanzen, เรียกข้อมูลวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2550 {{de icon}}</ref>
สาเหตุใหญ่มาจากค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการรวมเมือง เบอร์ลินในฐานะรัฐเยอรมันมีหนี้สะสมมากกว่าเมืองใด ๆ ในเยอรมนี
โดยมียอดประมาณการปัจจุบันอยู่ที่ 63 พันล้านยูโร ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549<ref>[http://www.dw-world.de/dw/article/0,2144,1983556, 00.html Debt-Laden Berlin Goes to Court For Federal Aid] {{en icon}}, Deutsche Welle, เรียกข้อมูลวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2549</ref>
เส้น 229 ⟶ 228:
== เศรษฐกิจ ==
 
ใน พ.ศ. 2550, [[จีดีพี]]ในรูปตัวเงินของนครรัฐเบอร์ลินมีอัตราเติบโต 1.8% (ขณะที่ทั้งประเทศเยอรมนีเติบโต 2.5%) และมีมูลค่าทั้งหมด 81.7 ($114) พันล้านยูโร<ref>[http://www.statistik-berlin-brandenburg.de/pms/2008/08-02-06.pdf Gross domestic product Berlin] {{en icon}}, Statistik-Berlin-Brandenburg., เรียกข้อมูลวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550</ref> ระหว่างทศวรรษหลังสุดนี้เบอร์ลินมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญไปสู่เศรษฐกิจการบรีการ ก่อนการรวมเยอรมนีและเบอร์ลินใน พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) นั้น เบอร์ลินตะวันตกได้รับเงินอุดหนุนก้อนใหญ่จากทางการเยอรมนีตะวันตก เพื่อชดเชยการที่ถูกตัดขาดทางภูมิศาสตร์ออกจากเยอรมนีตะวันตก เงินอุดหนุนเหล่านั้นจำนวนมากได้ถูกยกเลิกไปหลัง.ศ. 25331990 ฐานอุตสาหกรรมของอดีตเบอร์ลินตะวันออกได้ลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญในช่วงทศวรรษเดียว ทำให้นำไปสู่การเติบโตของจีดีพีที่หยุดนิ่ง และอัตราการว่างงานที่สูงจนกระทั่ง .ศ. 25482005 หลังจากนั้นอัตราการว่างงานได้ค่อย ๆ ลดลงอย่างมั่นคง และถึงจุดที่ต่ำที่สุดในรอบ 13 ปี ที่ 13.6% ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551 แต่ก็ยังคงสูงกว่าอัตราเฉลี่ยของประเทศเยอรมนีอยู่ (7.5% มิ.ย. 2551) <ref>[http://www.faz.net/s/Rub050436A85B3A4C64819D7E1B05B60928/Doc~EA9D1E691730F4E499BDF8F4C0FEB4FE5~ATpl~Ecommon~Scontent.html Bundesagentur spart zwei Milliarden Euro]{{de icon}}, FAZ, เรียกข้อมูลวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2551</ref><ref>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/business/7023728.stm Eurozone jobless marks record low] {{en icon}}, BBC, เรียกข้อมูลวันที่ 2 ตุลาคาม พ.ศ. 2550</ref>
 
ในบรรดาบริษัทในรายการ Forbes Global 2000 และดัชนีตลาดหลักทรัพย์ DAX ของเยอรมนีนั้น,
เส้น 372 ⟶ 371:
 
เบอร์ลินมีสนามบินพาณิชย์สามแห่ง คือ [[ท่าอากาศยานนานาชาติเทเกล]] (Tegel - TXL), [[ท่าอากาศยานนานาชาติเทมเปิลโฮฟ]] (Tempelhof - THF), และ [[ท่าอากาศยานนานาชาติเชินเนอเฟลด์]] (Schönefeld - SXF)
ในปี .ศ. 25492006 สนามบินสามแห่งนี้ให้บรีการผู้โดยสาร 18.5 ล้านคนสู่ 155 จุดหมายปลายทาง โดย 118 แห่งในนั้นอยู่ในยุโรป
 
ท่าอากาศยานเชินเนอเฟลด์กำลังอยู่ในการก่อสร้างเพิ่มเติม และเมื่อแล้วเสร็จจะกลายเป็น [[ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์ลิน-บรันเดินบวร์ค]] (Flughafen Berlin Brandenburg „Willy Brandt“ – BER) โดยท่าอากาศยานเทเกลและเทมเปิลโฮฟจะปิดตัวลงหลังจาก BBI เปิดใช้