ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหประชาชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "บัน คี มูน" → "พัน กี-มุน" +แทนที่ "โคฟี อันนัน" → "โคฟี แอนนัน" +แทนที่ "บูทรอส บูทรอส-กาลี" → "บุฏรุส บุฏรุส-ฆอลี" +แทนที่ "ฮาเวียร์ เปเรซ เดอเควลยา" → "ฆาบิเอร์ เปเรซ เด กูเอยาร์" +แทนที่ "อู ถั่น" → "อู้ตั่น" +แทนที่ "ทรีฟ ลี" → "ทริกเวอ ลี" ด้วยสจห.
บรรทัด 89:
<center>'''รายนามเลขาธิการสหประชาชาติ'''<ref>[http://www.un.org/sg/formersgs.shtml รายชื่อเลขาธิการสหประชาชาติ]</ref>
{| class="wikitable" border="1" style="font-size:90%; text-align:left;"
! คนที่ !! ชื่อ !! สัญชาติ !! วันที่เข้ารับตำแหน่ง !! วันที่พ้นจากตำแหน่ง !! หมายเหตุ
|-
| 1 || '''[[ทรีฟทริกเวอ ลี]]''' || {{flagcountry|Norway}} || 2 กุมภาพันธ์ 1946 || 10 พฤศจิกายน 1952 || ลาออก
|-
| 2 || [[ด๊าก ฮัมมาร์เฮิลด์]]||{{flagcountry|Sweden}} || 10 เมษายน 1953 || 18 กันยายน 1961 || เสียชีวิตอสัญกรรมขณะดำรงตำแหน่ง
|-
| 3 || '''[[อู ถั่นอู้ตั่น]]''' || {{flag|Burma|1948}} || 30 พฤศจิกายน 1961 || 31 ธันวาคม 1971 || เลขาธิการคนแรกจาก[[ทวีปเอเชีย]]
|-
| 4 || [[ควร์ท วัลท์ไฮม์]]||{{flagcountry|Austria}} || 1 มกราคม 1972 || 31 ธันวาคม 1981 ||
|-
| 5 || '''[[ฮาเวียร์ฆาบิเอร์ เปเรซ เดอเควลยา กูเอยาร์]]''' || {{flagcountry|Peru}} || 1 มกราคม 1982 || 31 ธันวาคม 1991 || เลขาธิการคนแรกจาก[[ทวีปอเมริกาใต้]]
|-
| 6 || '''[[บูทรอสบุฏรุส บูทรอสบุฏรุส-กาลีฆอลี]]''' || {{flagcountry|Egypt}} || 1 มกราคม 1992 || 31 ธันวาคม 1996 || เลขาธิการคนแรกจาก[[ทวีปแอฟริกา]]
|-
| 7 || '''[[โคฟี อันแอนนัน]]''' || {{flagcountry|Ghana}} || 1 มกราคม 1997 || 31 ธันวาคม 2006 ||
|-
| 8 || '''[[บันพัน คี มูนกี-มุน]]''' || {{flagcountry|South Korea}} || 1 มกราคม 2007 || 31 ธันวาคม 2016 ||
|-
| 9 || '''[[อังตอนียู กูแตรึช]]''' || {{flagcountry|Portugal}} || 1 มกราคม 2017 || อยู่ในตำแหน่ง ||
|}
</center>
บรรทัด 303:
สหประชาชาติยังได้รับคำวิจารณ์ในด้านการบริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพและสิ้นเปลือง ระหว่างช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 สหรัฐอเมริกาปฏิเสธที่จะบริจาคเงินอุดหนุนให้แก่สหประชาชาติโดยอ้างว่าสหประชาชาติบริหารงานไม่มีประสิทธิภาพ และจะเริ่มบริจาคเงินอุดหนุนให้อีกครั้งภายหลังจากมีการประกาศปฏิรูปองค์การเท่านั้น ในปี [[ค.ศ. 1994]] สมัชชาใหญ่ได้มีมติให้มีการจัดตั้งสำนักงานบริการตรวจสอบภายในขึ้นเพื่อเป็นการตรวจสอบประสิทธิภาพภายในองค์การ<ref>{{cite web |last=Reddy |first=Shravanti |date=2002-10-29 |url=http://www.globalpolicy.org/ngos/ngo-un/rest-un/2002/1029watchdog.htm |title=Watchdog Organization Struggles to Decrease UN Bureaucracy |publisher=Global Policy Forum |accessdate=2006-09-21 }}</ref>
 
โครงการปฏิรูปอย่างเป็นทางการ เริ่มต้นขึ้นโดย [[โคฟี อันแอนนัน]] ในปี [[ค.ศ. 1997]] การปฏิรูปอย่างกล่าวรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงตัวสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ซึ่งเดิมสะท้อนถึงมหาอำนาจของโลกภายหลังปี [[ค.ศ. 1945]] เพื่อให้ระบบการทำงานโปร่งใสขึ้น มีเหตุมีผลและมีประสิทธิภาพ ทำให้องค์การสหประชาชาติมีรูปแบบเป็นประชาธิปไตยมากยิ่งขึ้น และมีการกำหนดภาษีศุลกากรในประดิษฐกรรมอาวุธทั่วโลก
 
ในเดือนกันยายน [[ค.ศ. 2005]] สหประชาชาติได้จัดการประชุมโลก การประชุมครั้งนี้เรียกว่า "การประชุมครั้งหนึ่งในโอกาสแห่งชั่วอายุคนเพื่อการตัดสินใจครั้งสำคัญในพื้นที่การพัฒนา ความมั่นคง สิทธิมนุษยชนและการปฏิรูปสหประชาชาติ"<ref>{{cite web|title=The 2005 World Summit: An Overview|url=http://www.un.org/ga/documents/overview2005summit.pdf|publisher=United Nations|format=PDF|78.0&nbsp;[[Kibibyte|KiB]]<!-- application/pdf, 79964 bytes -->}}</ref> โคฟี อันแอนนันได้เสนอให้ที่ประชุมได้ตกลง "ลดราคาครั้งใหญ่" ในการปฏิรูปองค์การสหประชาชาติ เพื่อปรับเปลี่ยนมุมมองขององค์การต่อสันติภาพ ความมั่นคง สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา และปรับปรุงรูปแบบเพื่อรองรับเหตุการณ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ผลของการประชุมได้ข้อสรุปเป็นการประนีประนอมของเหล่าผู้นำโลก<ref>{{cite web|title=2005 World Summit Outcome|publisher=United Nations|url=http://www.un.org/summit2005/presskit/fact_sheet.pdf|format=PDF|82.9&nbsp;Kibibyte|KiB<!-- application/pdf, 84923 bytes -->}}</ref> ซึ่งสรุปให้มีการก่อตั้งคณะกรรมการสร้างสันติภาพ เพื่อให้การช่วยเหลือประเทศที่อยู่ท่ามกลางความขัดแย้ง [[คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ]]และกองทุนประชาธิปไตย ซึ่งเป็นการต่อสู้อย่างชัดเจนต่อการก่อการร้าย "ในทุกรูปแบบและการกระทำ" และข้อตกลงที่จะมอบทรัพยากรให้แก่สำนักงานบิรหารตรวจสอบภายในเพิ่มขึ้น ให้เงินสนับสนุนอีกพันล้านให้แก่เป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ ยกเลิกคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติเนื่องจากทำภารกิจลุล่วงแล้ว และประชาคมโลกจะต้องมี "ความรับผิดชอบในการป้องกัน" ซึ่งเป็นหน้าที่ของรัฐบาลแห่งชาติที่จะคอยป้องกันพลเมืองของตนจากอาชญากรรมร้ายแรง
 
สำนักงานบริการตรวจสอบภายในได้มีการก่อตั้งขึ้นใหม่ด้วยขอบเขตและอำนาจที่ได้รับอย่างชัดเจน และจะได้รับทรัพยากรเพิ่มขึ้น นอกจากนั้น สมัชชาใหญ่ยังได้รับอำนาจการตรวจสอบเพิ่มขึ้น มีการก่อตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาการตรวจสอบอิสระ (IAAC) ในเดือนมิถุนายน [[ค.ศ. 2006]] คณะกรรมการชุดที่ห้าได้ออกมติร่างข้อเรียนปฏิบัติของคณะกรรมการดังกล่าว<ref>{{cite web| url=http://www.centerforunreform.org/node/226 |author=Irene Martinetti |title=Reforming Oversight and Governance of the UN Encounters Hurdles |date=1 December 2006}}</ref><ref>{{cite web| url=http://www.centerforunreform.org/node/31 |title=Oversight and Governance |publisher=Center for UN Reform Education}}</ref> สำนักงานหลักจรรยาได้ก่อตั้งขึ้นในปีเดียวกัน มีอำนาจรับผิดชอบในการบริหารการเปิดเผยทางการเงินและนโยบายการป้องกันผู้ให้ข้อมูล สำนักงานหลักจรรยาได้ดำเนินการร่วมกับ OIOS ในการวางแผนส่งเสริมนโยบายการป้องกันการฉ้อราษฎร์บังหลวง<ref>{{cite web| url=http://www.centerforunreform.org/node/32 |title=Ethics Office |publisher=Center for UN Reform Education}}</ref> สำนักเลขาธิการกำลังอยู่ระหว่างการทบทวนอำนาจที่ได้รับมอบของสหประชาชาติที่มีอายุมากกว่าห้าปี การทบทวนดังกล่าวมีขึ้นเพื่อกำจัดโครงการต่าง ๆ ที่ได้รับการพิจารณาแล้วว่าไม่จำเป็น โดยมีหัวข้อที่ต้องทบทวนกว่า 7,000 หัวข้อ และมีการโต้แย้งกันในเรื่องที่ว่าจะการกำหนดอำนาจที่ได้รับมอบขึ้นมาใหม่ จนถึงเดือนกันยายน [[ค.ศ. 2007]] ซึ่งกำลังอยู่ในระหว่างดำเนินการอยู่<ref>{{cite web| url=http://www.centerforunreform.org/node/30 |title=Mandate Review |publisher=Center for UN Reform Education}}</ref>