ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีหัวลำโพง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ciwat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 72:
|}
 
หนัง​ไไไไไได​โน​ไไไป​ใน​ใน​ใน​ไไป​ไใน​ชีวิต​ประจำวัน​ประจำวัน​ไไได้​ไไไได้​ใน​ไไไไไไได้​ไไไได้​ไไไได้​ได้​ไได้​ไไได้​ไไไไไไไไไไไไไได้​ไไม่ยาก​ไโทร​นี่​ไป​ไป​ไหน​เลย​ไได้​ที่​ได้รับ​คไไม่ได้​ไปหา​ไม่ได้​ไวามนิยม​ได้​ไไไไไได้​ใน​ใน​ไได้​ใน​ใน​ไได้​
== รายละเอียดของสถานี ==
[[ไฟล์:สัญลักษณ์สถานีหัวลำโพง.jpg|thumb|รูปทรงครึ่งวงกลมของอาคารสถานีรถไฟกรุงเทพ สัญลักษณ์ประจำสถานี]]
==== สัญลักษณ์ของสถานี ====
ตราสัญลักษณ์เป็นรูปทรงครึ่งวงกลมของอาคารสถานีรถไฟกรุงเทพ โดยมีรูปทรงปกติอยู่เหนือเงาสะท้อนรูปหัวกลับ ใช้สีแดงเพื่อบ่งบอกถึงความเป็นย่านธุรกิจ หรือตลาด <ref>จุดเริ่มต้นของคนเดินทาง: ดำดินเดินทาง. คอลัมน์นายรอบรู้ นิตยสารสารคดี เดือนตุลาคม 2548</ref>
 
==== รูปแบบของสถานี ====
เป็นสถานีใต้ดิน กว้าง 23 เมตร ยาว 206 เมตร ระดับชานชาลาอยู่ลึกจากผิวดิน 14 เมตร เป็นชานชาลาแบบกลาง (Station with Central Platform)
 
==== ทางเข้า-ออก ====
* '''1''' โรงแรมบางกอกเซ็นเตอร์, ถนนมหาพฤฒาราม, วัดไตรมิตร, วงเวียนโอเดียน, ถนนไมตรีจิตต์
* '''2''' สถานีรถไฟกรุงเทพ, ถนนรองเมือง ด้านข้างอาคารสถานีรถไฟ, ป้ายรถประจำทางหน้าสถานีรถไฟ
* '''3''' ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวลำโพง, ถนนรองเมือง ด้านติดถนนพระรามที่ 4, ป้ายรถประจำทางไปสามย่าน
* '''4''' ธนาคารนครหลวงไทย สาขาหัวลำโพง (อาคารตั้ง ฮั่ว ปัก พระรามสี่), ป้ายรถประจำทางไปเยาวราช
 
<gallery mode="packed">
ไฟล์:Señalizacion bilingue metro bangkok.jpg|ป้ายบอกทางไปทางเข้า-ออกที่ 1 และ 4
ไฟล์:Walkway from MRT to Bangkok Railway Station.jpg|ทางเชื่อมไปยัง[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]]
ไฟล์:Hua Lamphong MRT Station Entrance.jpg|ทางเข้า-ออกที่ 2 เชื่อมต่อกับ[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]]
ไฟล์:ทางออก 3.jpg|ทางเข้า-ออกที่ 3 ฝั่ง[[ถนนพระรามที่ 4]]
</gallery>
 
==== การจัดพื้นที่ในตัวสถานี ====
แบ่งเป็น 2 ชั้น ประกอบด้วย
* '''1''' ชั้นออกบัตรโดยสาร นิทรรศการ และทางเชื่อมสถานีรถไฟกรุงเทพ
* '''2''' ชั้นชานชาลา
 
== สิ่งอำนวยความสะดวก ==