ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูหางกระดิ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8364240 สร้างโดย 27.55.65.61 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
[[Fileไฟล์:Crotalus cerastes detail.PNG|thumb|250px|[[งูไซด์ไวน์เดอร์]] (''Crotalus cerastes'') และส่วนขยายส่วนหางที่ทำให้เกิดเสียง จัดเป็นงูหางกระดิ่งขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่ง]]
{{Listen|filename=Rattlesnake.ogg|title=งูหางกระดิ่ง|description=เสียงสั่นหางของงูหางกระดิ่ง|format=[[Ogg]]}}
'''งูหางกระดิ่ง''' เป็น[[ชื่อสามัญ]]ของ[[งูพิษ]]จำพวกหนึ่ง ที่อยู่ใน[[วงศ์งูแมวเซา]] (Viperidae) จัดอยู่ใน 2 สกุล คือ ''[[ Crotalus]]'' และ''[[ Sistrurus]]'' ในวงศ์ย่อย [[Crotalinae]] (''Crotalus'' มาจาก[[ภาษากรีก]] มีความหมายว่า "Castanet" ส่วนคำว่า ''Sistrurus'' นั้นเป็น[[ภาษาละติน]]ที่มีความหมายในภาษากรีกว่า "Tail rattler" และมีความหมายตามรากศัพท์เดิมว่า "[[เครื่องดนตรี]]")<ref>Howard, W. E. (1994). Prevention and Control of Wildlife Damage. F-21-26.</ref> <ref>Kardong, K. V. and Bels, V. L. (1998). Rattlesnake Strike Behavior: Kinematics. The Journal of Experimental Biology. 201: 837-850.</ref>
 
งูหางกระดิ่ง มีลักษณะเด่น คือ เกล็ดที่ปลายหางที่เป็นสารประกอบ[[เคอราติน]] ที่เป็นอวัยวะที่สามารถทำให้เกิด[[เสียง]]ได้ โดยเสียงนั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนถี่ ๆ ของปล้องเกล็ดเป็นข้อ ๆ ที่หาง ซึ่งปล้องเกล็ดนี้พัฒนามาจากเกล็ดหางส่วนปลายนั่นเอง ทุกครั้งที่มีการ[[ลอกคราบ]]ปล้องเกล็ดนี้ก็จะเพิ่มจำนวนขึ้นด้วย 1 ปล้องต่อการลอกคราบ 1 ครั้ง การลอกคราบนั้นอาจเกิดขึ้นหลายครั้งใน 1 ปี ทั้งนี้ขึ้นกับอาหารที่ได้รับและอัตราการเติบโต สำหรับลูกงูที่เกิดใหม่นั้นจะมีปล้องเกล็ดที่หาง 1 ปล้อง ซึ่งยังไม่สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ แต่เมื่อผ่านการลอกคราบครั้งแรกไปแล้วก็สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ การสั่นให้เกิดเสียงนั้นก็เพื่อเป็นการข่มขู่เมื่อพบศัตรูเข้ามาใกล้นั่นเอง<ref name="งู">หน้า 410, ''วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก'' โดย วีรยุทธ์ เลาหะิจินดาหะจินดา (พ.ศ. 2552) ISBN 978-616-556-016-0</ref>
 
งูหางกระดิ่ง ปัจจุบันพบกว่า 30 [[species|ชนิด]] ทุกชนิดพบได้ใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]]จนถึง[[อเมริกากลาง]] เช่น [[เม็กซิโก]] โดยมากจะอาศัยและหากินในที่ ๆ แห้งแล้ง เช่น [[ทะเลทราย]] และหากินบนพื้นดินมากกว่าจะขึ้นต้นไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยใช้การตรวจจับคลื่นความร้อนจากรังสี[[อินฟาเรด]]จากตัวเหยื่อด้วยอวัยวะรับคลื่นความร้อนที่เป็นแอ่งระหว่างช่องเปิดจมูกกับ[[ตา]] เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงทำให้มนุษย์ที่ถูกกัด[[เสียชีวิต]]ได้ สำหรับภูมิภาคอื่นที่ไม่มีงูหางกระดิ่ง แต่ก็มีงูบางชนิดในวงศ์เดีัยวกันนี้เดียวกันนี้ ที่เกล็ดตามลำตัวสามารถเสียดสีทำให้เกิดเสียงดังได้เพื่อขู่ศัตรู เช่น [[Echis carinatus|งูพิษเกล็ดเลื่อย]] (''Echis carinatus'') ใน[[ประเทศอินเดีย]] เป็นต้น<ref name="งู"/>
 
==อ้างอิง==