ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาคารชุด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''อาคารชุด'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรมศัพท์สถาปัตยกรรมศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2554, หน้า 35.</ref><ref>ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1401.</ref> หรือ '''คอนโดมิเนียม'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 247.</ref> ({{lang-en|condominium}}) เป็นที่อยู่อาศัยรูปแบบหนึ่งที่เจ้าของห้องชุดจะต้องแบ่งปันกรรมสิทธิ์หรือความเป็นเจ้าของร่วมกับเจ้าของห้องชุดอื่น ๆ ในพื้นที่ส่วนกลาง เช่น ทางเดิน บริเวณห้องโถง บันได ลิฟต์ โรงจอดรถ สระว่ายน้ำ สนามเด็กเล่น ซึ่งเจ้าของห้องทุกคนจะเป็นเจ้าของร่วมตามกฎหมาย ลักษณะของห้องในอาคารชุดจะเหมือนกับ[[ห้องอยู่อาศัย]] เพียงแต่เราเป็นเจ้าของห้อง ไม่ใช่ผู้เช่า
 
อาคารชุดเริ่มจาก[[สหรัฐอเมริกา]]และ[[แคนาดา]] ธนิดา กิตติอดิสร จาก[[ราชบัณฑิตยสถาน]]ระบุว่า "คำว่า[https://www.jwrealestate.co.th/project/jwstationramintra-%e0%b8%84%e0%b8%ad%e0%b8%99%e0%b9%82%e0%b8%94%e0%b8%a3%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b8%ad%e0%b8%b4%e0%b8%99%e0%b8%97%e0%b8%a3%e0%b8%b2/ คอนโดมิเนียม]ในภาษาอังกฤษหมายถึงการถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันในอาคารขนาดใหญ่ที่แบ่งซอยเป็นส่วนต่าง ๆ ให้คนต่างครอบครัวพักอยู่ ต่อมามีความหมายถึง อาคารที่อยู่อาศัย อาคารสำนักงาน หรืออาคารอื่น ที่บุคคลสามารถแยกการถือกรรมสิทธิ์ออกได้เป็นส่วน ๆ โดยแต่ละส่วนประกอบด้วยกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ส่วนบุคคลและกรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลาง"<ref>[http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=2318 คอนโด (๒๒ เมษายน ๒๕๕๑)] .royin.go.th</ref>
 
ในภาษาอังกฤษ คำเรียกอาคารชุดและกรรมสิทธิ์ร่วมในอาคารชุดนอกเหนือจากคำว่า {{lang|en|''condominium''}} จะต่างกันไปในแต่ละประเทศหรือภูมิภาค เช่น ใน[[ออสเตรเลีย]]และแคนาดาเฉพาะ[[รัฐบริติชโคลัมเบีย]]นิยมเรียกว่า {{lang|en|''strata title''}} ในขณะที่[[รัฐควิเบก]]เรียกว่า {{lang|en|''divided co-property''}} ส่วนใน[[อังกฤษ]]และ[[เวลส์]]เรียกว่า {{lang|en|''commonhold''}} ส่วน[[ภาษาฝรั่งเศส]]จะเรียกว่า {{lang|fr|''copropriété''}} และในรัฐควิเบกอาจเรียกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า {{lang|fr|''copropriété divise''}}