ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เนื้อทรายอินโดจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
|synonyms = *''Axis porcinus annamiticus''
|image=File:YT_2836_%E6%B0%B4%E9%B9%BF_(38004783842).jpg}}
'''เนื้อทรายอินโดจีน''' หรือ '''เนื้อทรายไทย''' ({{lang-en|Indochinese hog deer, Thai hog deer}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|HyelaphusAxis annamiticus}}) เป็นกวางชนิด[[เนื้อทราย]] (A''H. porcinus'') ชนิดหนึ่ง โดยในอดีตเคยถูกจัดให้เป็น[[ชนิดย่อย]] แต่ในปัจจุบันได้ถูกจำแนกออกมาต่างหาก<ref>[http://www.ultimateungulate.com/NewTaxonomy.html Ungulate Taxonomy – A new perspective from Groves and Grubb (2011)]. ultimateungulate.com</ref>
 
พบกระจายพันธุ์ในไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม และตอนใต้ของเมียนมาร์ เนื้อทรายอินโดจีนในประเทศไทยเคยพบชุกชุมตามที่ราบต่ำหรือป่าโปร่ง ยกเว้นทางภาคใต้ เดิมเคยถูกจัดให้เป็น[[สัตว์ป่าสงวน]] เพราะอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์ แต่ปัจจุบันได้ถูกถอดออกจากการเป็นสัตว์ป่าสงวนแล้ว เนื่องจากสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงและนำไปปล่อยคืนสู่ธรรมชาติในปริมาณที่มากพอควร และสามารถขยายพันธุ์ได้เอง โดยเฉพาะที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ <ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง =นางสาวพัฒนาวดี กุณฑะโร | ชื่อหนังสือ = ความสามารถในการปรับตัวของเนื้อทรายที่ปล่อยสู่ธรรมชาติ บริเวณทุ่งกะมัง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ|URL =|จังหวัด =กรุงเทพมหานคร|พิมพ์ที่ = บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์| ปี =2545|ISBN = 974-357-546-4|จำนวนหน้า =68|หน้า =4}}</ref>