ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไมโทคอนเดรีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Diagram of a human mitochondrion.png|thumbnail|โครงสร้างของไมโทคอนเดรีย]]
 
== '''ไทเคเอฟซี''' ({{lang-en|KFC}}) หรือ '''ไก่ทอดเคนทักกี''' ({{lang-en|Kentucky Fried Chicken}}) เป็น[[ภัตตาคารอาหารจานด่วน]]หลายสาขาที่เน้นอาหารประเภท[[ไก่ทอด]]และมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่[[หลุยส์วิลล์]] [[รัฐเคนทักกี]] [[สหรัฐอเมริกา]] เคเอฟซีเป็นภัตตาคารหลายสาขาที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองรองจาก[[แมคโดนัลด์]] ด้วยจำนวนร้าน 18,875 ร้านใน 118 ประเทศนับถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 บริษัทเป็นบริษัทย่อยของ[[ยัม! แบรนด์ส อิงค์]] บริษัทภัตตาคารที่เป็นเจ้าของ[[พิซซ่าฮัท]]และ[[ทาโก้ เบลล์]]ด้วย เคเอฟซีก่อตั้งโดย[[ผู้พันแซนเดอส์|ฮาร์แลนด์ แซนเดอส์]] นักลงทุนที่เริ่มขายไก่ทอดจากร้านอาหารข้างถนนใน[[คอร์บิน รัฐเคนทักกี]] ในช่วง[[ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่]] แซนเดอส์เริ่มเห็นความเป็นไปได้เกี่ยวกับการเปิด[[แฟรนไชส์]]ร้านอาหาร และแฟรนไชส์ "เคนทักกีฟรายด์ชิกเคน" (Kentucky Fried Chicken - ไก่ทอดเคนทักกี) ร้านแรกเปิดที่[[รัฐยูทาห์]]ในปี พ.ศ. 2495 เคเอฟซีทำอาหารประเภทไก่ให้เป็นที่นิยมในอุตสาหกรรมอาหารจานด่วน และกระจายตลาดโดยท้าทายผู้นำด้านร้านอาหารประเภท[[แฮมเบอร์เกอร์]] หลังจากตั้งชื่อตราสินค้าของตนเป็น "เคอเนลแซนเดอส์" (Colonel Sanders) ฮาร์แลนด์กลายเป็นบุคคลโดดเด่นในประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอเมริกัน และรูปภาพของเขาเป็นที่รู้จักกว้างขวางในภาพโฆษณาเคเอฟซี อย่างไรก็ตาม การขยายตัวอย่างรวดเร็วของบริษัททำให้แซนเดอส์รู้สึกว่ายากที่จะรับมือ และในปี พ.ศ. 2507 เขาขายบริษัทให้กับกลุ่มนักลงทุนกลุ่มหนึ่งที่นำโดย[[จอห์น วาย. บราวน์ จูเนียร์]] และ[[แจ็ก ซี. แมสซีย์]] เคเอฟซีเป็นหนึ่งในกิจการอาหารจานด่วนกิจการแรก ๆ ที่ขยายตัวเข้าสู่สากล เปิดสาขาใน[[สหราชอาณาจักร]] [[เม็กซิโก]] และ[[จาไมกา]]ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1960 ตลอดคริสต์ทศวรรษ 1970-1980 เคเอฟซีประสบกับโชคชะตาทั้งร้ายและดีคละกันไป หลังจากมีการเปลี่ยนแปลงหลายครั้งเกี่ยวกับหุ้นส่วนที่ไม่มีประสบการณ์เรื่องธุรกิจร้านอาหาร หรือมีประสบการณ์เพียงน้อยนิด เมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 เคเอฟซีถูกขายให้กับผู้จำหน่าย[[สุรา]] [[ฮิวไบลน์]] (Heublein) ซึ่งก็ถูกธุรกิจอาหารและยาสูบ [[อาร์.เจ. เรย์โนลด์ โทแบ็กโคคอมพานี|อาร์.เจ. เรย์โนลด์]] และขายกิจการให้กับบริษัท [[เป๊ปซี่โค]] กิจการขยายตัวต่อไปอีกหลายประเทศ และในปี พ.ศ. 2530 เคเอฟซีกลายเป็นกิจการร้านอาหารตะวันตกกิจการแรกที่เปิดที่ประเทศจีน กิจการได้ขยายตัวในจีนอย่างรวดเร็ว จนปัจจุบันกลายเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดของบริษัท เป๊ปซี่โคแยกแผนกร้านอาหารออกเป็น''ไทรคอนโกลบอลเรสเตอรอนส์'' (Tricon Global Restaurants) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ''ยัม! แบรนด์ส อิงค์'' ในปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์แรกเริ่มของเคเอฟซีคือไก่ทอดที่ทอดด้วยอุณหภูมิสูง (pressured frying) ปรุงรสด้วยสูตรสมุนไพรและเครื่องเทศ 11 ชนิดของแซนเดอส์ ส่วนผสมของสูตรนี้เป็นความลับทางการค้า ไก่ทอดหากมีปริมาณมากจะเสิร์ฟใน "ถัง" ที่ทำจากกระดาษแข็ง ซึ่งกลายเป็นลักษณะที่รู้จักกันดีของกิจการตั้งแต่เปิดตัวครั้งแรกโดยลูกค้าแฟรนไชส์ [[พีต ฮาร์แมน]] ในปี พ.ศ. 2500 ตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 เคเอฟซีขยายเมนูให้มีอย่างอื่นนอกจากไก่ทอด เช่น [[แซนด์วิชไก่|เบอร์เกอร์ไก่ไม่มีกระดูก]] และ[[แซนด์วิชชนิดห่อ|แซนด์วิชไก่ไม่มีกระดูกชนิดห่อด้วยแป้ง]] รวมถึง[[สลัด]] และ[[เครื่องเคียง]] เช่น [[มันฝรั่งทอด|เฟรนช์ฟรายส์]] และ[[โคลสลอว์]] ขนมหวาน และ[[น้ำอัดลม]] ซึ่งจัดหาโดยบริษัทเป๊ปซี่โค เคเอฟซีเป็นที่รู้จักด้วย[[สโลแกน]]ว่า "finger linkin' good" ต่อมาเปลี่ยนเป็น "Nobody does chicken like KFC" และ "So Good" ==
ไมโทคอนเดรียพบได้ในสิ่งมีชีวิตประเภท[[ยูแคริโอต]]แทบทุกชนิด ซึ่งมีจำนวนและแหล่งอาศัยแตกต่างกันไปตามชนิดของเซลล์ ไมโทคอนเดรียอันเดียวมักจะพบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ในทางตรงข้าม ไมโทคอนเดรียจำนวนมากพบได้ในเซลล์[[ตับ]]ของมนุษย์ ซึ่งมีจำนวนประมาณ 1000-2000 อันต่อเซลล์ กินเนื้อที่หนึ่งในห้าของเซลล์ <ref name= "Alberts">{{cite book| last = Alberts| first = Bruce| authorlink = | coauthors = Alexander Johnson, Julian Lewis, Martin Raff, Keith Roberts, Peter Walter| year = 1994| title = Molecular Biology of the Cell| publisher = Garland Publishing Inc.| location = New York| isbn = 0815332181}}</ref> ไมโทคอนเดรียก็สามารถพบได้ที่ระหว่าง[[เส้นใยฝอยกล้ามเนื้อ]]โดยเบียดแน่นกันอยู่ หรือห่อหุ้ม[[แฟลเจลลัม]] (ส่วนหาง) ของ[[สเปิร์ม]] <ref name=Alberts/>