ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำลาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 6276258 โดย 1.46.234.67ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 22:
 
=== สารฆ่าเชื้อ ===
ความเชื่ออย่างหนึ่งเกี่ยวกับน้ำลายว่า น้ำลายมีสารฆ่าเชื้ออยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งทำให้ผู้คนที่เชื่อนำไปสู่ "การเลียแผลตัวเอง" คณะนักวิจัยจาก[[มหาวิทยาลัยแห่งฟลอริดา]]ในเมือง[[เกนส์วิลล์]]ได้ค้นพบว่า มี[[โปรตีน]]ชนิดหนึ่งเรียกว่า [[Nerve Growth Factor]] (NGF) ในน้ำลายของ[[หนู]]ทดลอง บาดแผลที่ใช้ NGF รักษาสามารถฟื้นตัวได้เร็วกว่าแผลที่ไม่ได้ใช้เป็นสองเท่า นั่นหมายความว่าน้ำลายสามารถช่วยรักษาแผลได้ในสัตว์บางชนิด อย่างไรก็ตามไม่มีการตรวจพบ NGF ในน้ำลายของมนุษย์ แต่มีสารยับยั้งแบคทีเรียอย่างอื่นเช่น [[อิมมูโนกลอบูลินเอ]] (Immunoglobulin A: IgA) [[แลกโตเฟอร์ริน]] (Lactoferrin) และ[[แลกโตเพอรอกซิเดส]] (Lactoperoxidase) <ref>[http://www.discover.com/issues/oct-05/departments/the-biology-of-saliva/ Discover Magazine, "The Biology of ...Saliva" October 2005]</ref> สิ่งนี้แสดงว่าการเลียแผลของมนุษย์ไม่สามารถฆ่าเชื้อโรคได้ แต่การเลียนั้นอาจช่วยขจัดสิ่งสกปรกหรือช่วยกำจัดเซลล์ที่ติดเชื้อได้โดยตรงจากการเลียปัดออกไป ดังนั้นการเลียจึงอาจเป็นวิธีหนึ่งของการทำความสะอาดของมนุษย์หรือสัตว์ ซึ่งอาจเป็นประโยชน์ถ้าไม่มีน้ำบริสุทธิ์ให้ใช้
 
ปากของสัตว์ (รวมทั้งมนุษย์) เป็นที่อยู่อาศัยของแบคทีเรียหลายชนิด ซึ่งบางชนิดเป็น[[จุลชีพก่อโรค]] (Pathogen) การกัดของสัตว์จึงต้องรักษาด้วย[[ยาปฏิชีวนะ]]เพื่อป้องกันความเสี่ยงของ[[ภาวะเลือดเป็นพิษ]] (Septicemia)
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/น้ำลาย"