ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามอิรัก–อิหร่าน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะวรรค
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 107:
=== จุดยืนของสหรัฐอเมริกา ===
สหรัฐอเมริกาถือเป็นมิตรประเทศของประเทศอิหร่านก่อน[[การปฏิวัติอิหร่าน|การปฏิวัติ]] แม้กระทั่งหลังการปฏิวัติอิหร่านแล้ว รัฐบาลของประธานาธิบดี[[จิมมี คาร์เตอร์|คาร์เตอร์]] ก็ยังคงมองอิหร่านเป็นปราการเพื่อต่อต้านอิรักและสหภาพโซเวียต สหรัฐมีการเจรจาเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์กับรัฐบาลเฉพาะกาลของอิหร่าน มีการอนุมัติความร่วมมือด้านข่าวกรองระหว่างสองประเทศในปี 1979 ทั้งสหรัฐและอิหร่าน แต่ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐ-อิหร่าน ขาดสะบั้นลงเมื่อเกิด[[วิกฤตการณ์ตัวประกันอิหร่าน]] และอิหร่านยังกล่าวหาสหรัฐว่าอยู่เบื้องหลังการรัฐประหารอิหร่านในปี 1953 สหรัฐได้ตัดทางการทูตเป็นการตอบโต้ ในขณะที่บรรดาผู้นำของอิหร่านรวมทั้ง[[รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี]]ต่างเชื่อ[[ทฤษฎีสมคบคิด]]ที่ว่าสหรัฐให้ "ไฟเขียว" แก่ซัดดัม ฮุสเซน ในการบุกอิหร่าน และยังสงใสว่าสหรัฐจะใช้อิรักเป็นหมากในการแก้แค้นเรื่องวิกฤตตัวประกัน ตามบันทึกของประธานาธิบดีคาร์เตอร์เองก็ได้ระบุในไดอารีของเขาว่า ''"พวกผู้ก่อการร้ายอิหร่านกำลังจะทำเรื่องบ้า ๆ อย่างฆ่าตัวประกันชาวอเมริกันถ้าพวกเขาถูกบุกโดยอิรัก ที่เขาบอกว่าเป็นหุ่นเชิดของอเมริกา"''
ซึ่งก็เป็นเรื่องจริง เพราะเป็นที่รู้กันในหมู่ผู้นำประเทศ ว่า อเมริกานั้น แสกแทรงทุกๆประเทศ บนโลก
 
== การเตรียมการของอิรัก ==