ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุปสงค์และอุปทาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
 
== อุปสงค์และอุปทาน ==
อุปสงค์ หมายถึงความต้องการซื้อสินค้าของผู้บริโภคที่แต่ละราคา ทั้งนี้ คำว่าอุปสงค์มักหมายความถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความต้องการซื้อกับราคา หากว่ากล่าวถึงปริมาณความต้องการซื้อที่ราคาหนึ่งโดยเฉพาะ จะเรียกว่าปริมาณอุปสงค์ อุปสงค์สามารถเขียนออกมาในลักษณะ[[ฟังก์ชัน]]ทางคณิตศาสตร์ โดยให้ปริมาณความต้องการซื้อเป็นฟังก์ชันของราคา เรียกว่าฟังก์ชันอุปสงค์ และแสดงได้ในรูปแบบของแผนภูมิเส้น โดยให้แกนตั้งหมายถึงราคา และแกนนอนหมายถึงปริมาณ ในลักษณะเดียวกัน อุปทานหมายถึงความต้องการขายสินค้าของผู้ผลิตที่แต่ละราคา โดยที่ปริมาณความต้องการขายเป็นฟังก์ชันของราคา ปริมาณความต้องการขายที่ราคาหนึ่งโดยเฉพาะเรียกว่าปริมาณอุปทาน ฟังก์ชันอุปทานสามารถเขียนออกมาในรูปแบบของแผนภูมิเส้นเช่นเดียวกัน{{r|OpenStax 3.1}} แนวคิดอุปสงค์และอุปทานในลักษณะที่เป็นฟังก์ชันของราคานี้ ตั้งอยู่บนข้อสมมติว่าผู้บริโภคและผู้ผลิตตอบสนองต่อราคาตลาดโดยไม่มีอำนาจในการกำหนดราคาได้ ซึ่งเป็นข้อสมมติหนึ่งของ[[ตลาดแข่งขันสมบูรณ์]]{{r|Core 8.2}}
 
กฎอุปสงค์ (Law of Demand) และกฎอุปทาน (Law of Supply) เป็นหลักการที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณความต้องการซื้อหรือขาย โดยกฎอุปสงค์ระบุว่าทั่วไปแล้ว ปริมาณความต้องการซื้อสินค้า หรือเรียกว่าปริมาณอุปสงค์ (quantity demanded) จะมีความสัมพันธ์ในทางเชิงลบกับราคา เมื่อปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลนั้นคงที่ กล่าวนั่นคือ เมื่อหากว่าราคาตลาดของสินค้าเพิ่มชนิดหนึ่งสูงขึ้นโดยที่ปัจจัยอื่นๆ ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะคงที่ ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าชนิดนั้นน้อยจะลดลง กฎอุปทานระบุความสัมพันธ์นี้เรียกว่า ปริมาณสินค้าที่ต้องการขายกฎอุปสงค์ หรือปริมาณอุปทาน(law (quantityof supplieddemand) ในทางกลับกัน ปริมาณอุปทานมักมีความสัมพันธ์ในทางเชิงบวกกับราคา เมื่อปัจจัยอื่นๆนั่นคือ ที่มีผลนั้นคงที่ กล่าวคือเมื่อหากราคาตลาดของสินค้าเพิ่มชนิดหนึ่งสูงขึ้นโดยที่ปัจจัยอื่นๆ ผู้ขายมีแนวโน้มที่จะคงที่ ปริมาณความต้องการขายสินค้ามากชนิดนั้นจะเพิ่มขึ้นบวง เรียกว่ากฎอุปทาน (law of supply){{r|OpenStax 3.1}}
 
กฎอุปสงค์และอุปทาน มักนำเสนอออกมาในรูปแบบของ[[แผนภูมิเส้น]] โดยให้แกนตั้งเป็นราคา และแกนนอนเป็นปริมาณสินค้า เส้นอุปสงค์มักเขียนออกมาเป็นเส้นลาดลง และเส้นอุปทานเป็นเส้นชันขึ้น แม้ว่าโดยทั่วไปเส้นกราฟอุปทานจะมีลักษณะชันขึ้น อย่างไรก็ตาม มีบางกรณีที่เส้นกราฟอุปทานที่ว่ากันว่าแบบสมมติฐาน ตัวอย่างของข้อยกเว้นนี้ได้แก่ เส้นกราฟอุปทานของแรงงานที่มีลักษณะของการโน้มกลับ กล่าวคือ เมื่ออัตราค่าแรงเพิ่มขึ้น คนงานคนหนึ่งก็พร้อมจะทำงานเป็นจำนวนชั่วโมงที่มากขึ้น แต่เมื่ออัตราค่าแรงขึ้นถึงจุดที่สูงมากๆ คนงานอาจพบกับเลือกทำงานน้อยลงและใช้เวลาว่างมากขึ้น<ref>กราฟของแรงงานที่มีลักษณะโน้มกลับนี้อธิบายเพียงอุปทานส่วนบุคคลของคนงาน [http://vdo.kku.ac.th/mediacenter/mediacenter-uploads/libs/html/1273/les2_2_5.htm]</ref> การวกกลับของเส้นกราฟอุปทานยังปรากฏในตลาดอื่นด้วย เช่นในตลาดน้ำมัน ประเทศที่ส่งออกน้ำมันหลายประเทศลดการผลิตน้ำมันหลังจากราคาพุ่งสูงขึ้นในวิกฤตการณ์น้ำมันปี พ.ศ. 2520<ref>{{cite book|last=Samuelson|first=Paul A|coauthors=William D. Nordhaus|title=Economics|edition=17th edition|year=2001|publisher=McGraw-Hill|pages=157}} ISBN 0-07-231488-5 {{en icon}}</ref>
 
== ความสัมพันธ์ของอุปสงค์และอุปทาน ==