ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สินค้ากิฟเฟน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
 
'''สินค้ากิฟเฟ่น''' (Giffen good) เป็นสินค้าที่ไม่ได้อยู่ในกฎของอุปสงค์ เนื่องจากเมื่อราคาสินค้าสูงขึ้นความต้องการก็จะสูงขึ้นตาม และเมื่อสินค้ามีราคาลดต่ำลงความต้องการก็จะลดต่ำลงเช่นกัน
ในสาขา[[เศรษฐศาสตร์]] '''สินค้ากิฟเฟน''' ({{lang-en|Giffen good}}) เป็นสินค้าที่ปริมาณ[[อุปสงค์และอุปทาน|ความต้องการซื้อ]]สูงขึ้นเมื่อราคาสินค้านั้นสูงขึ้นและปัจจัยอื่นคงที่ สินค้ากิฟเฟนมีลักษณะขัดกับ[[กฎอุปสงค์]]ที่ระบุว่า เมื่อราคาสินค้าสูงขึ้น ความต้องการซื้อสินค้าชนิดนั้นจะลดลง
 
ในทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค สินค้ากิฟเฟน เป็น[[สินค้าด้อย]]ที่มี[[ผลกระทบจากราคา]]สูง กล่าวคือ การที่สินค้าชนิดหนึ่งราคาสูงขึ้น มีผลทำให้ผู้บริโภคมีกำลังซื้อโดยรวมน้อยลง ทำให้ผู้บริโภคจำเป็นต้องหันไปซื้อสินค้าด้อยมากขึ้นอีก คำอธิบายเรื่องสินค้ากิฟเฟนมักยกตัวอย่างอุปสงค์ของมันฝรั่งในช่วง[[ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์|ภาวะขาดแคลนอาหารในไอร์แลนด์]] [[มันฝรั่ง]]เป็นอาหารราคาถูกที่ทำให้อิ่มท้องได้ หากราคามันฝรั่งต่ำลง ผู้บริโภคจะสามารถซื้ออาหารชนิดอื่นมาบริโภคด้วยมากขึ้น ทำให้ความต้องการซื้อมันฝรั่งลดลง สวนทางกับกฎอุปสงค์<ref name="MWG">{{cite book |title= Microeconomic Theory |last1 = Mas-Colell |first1= Andreu |last2= Whinston |first2= Michael D. |last3= Green |first3= Jerry R. |date= 1995| publisher= Oxford University Press |isbn= 0-19-510268-1| page=26}}</ref> อย่างไรก็ตาม งานวิจัยในระยะหลังได้สรุปว่า ข้อสังเกตว่ามันฝรั่งเป็นสินค้ากิฟเฟนในช่วงอาหารขาดแคลนในไอร์แลนด์ ไม่เป็นความจริง<ref>{{cite journal |last1=Dwyer |first1=Gerald P. |last2 =Lindsay |first2=Cotton M. |year=1984 |title=Robert Giffen and the Irish potato |journal=American Economic Review |volume=74 |issue=1 |pages=188-192 |jstor=1803318}} </ref><ref>{{cite journal |last=Rosen |first=Sherwin|year=1999 |title= Potato paradoxes |journal=Journal of Political Economy |volume=107 |issue=S6 |pages= S294-S313 |doi= 10.1086/250112}} </ref> ทฤษฎีของสินค้ากิฟเฟน แตกต่างจากสินค้าสำหรับ[[การบริโภคเพื่อโอ้อวด]]หรือ[[สินค้าเวเบล็น]] ที่อธิบายพฤติกรรมการซื้อสินค้าราคาแพงเพื่อโอ้อวดฐานะทางเศรษฐกิจ
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{โครงเศรษฐศาสตร์}}