ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีกรุงเทพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GuJemoeder51 (คุย | ส่วนร่วม)
อัพเดตภาพรถจักรไอน้ำโมกุล C56 หมายเลข 714 (C56-16) ให้เป็นวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| type =
| style =
| route_box ={{เริ่มทางรถไฟ}}
{{สถานีรถไฟ|สาย=รถไฟทางไกล [[ทางรถไฟสายเหนือ|สายเหนือ]] - [[ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ|สายตะวันออกเฉียงเหนือ]] - [[ทางรถไฟสายใต้|สายใต้]]|สี = 808080 | ก่อนหน้า= ''สถานีปลายทาง''| ถัดไป = '''[[ป้ายหยุดรถไฟยมราช]]'''}}
{{สถานีรถไฟ|สาย=รถไฟทางไกล [[ทางรถไฟสายตะวันออก|สายตะวันออก]] |สี = 808080 | ก่อนหน้า= ''สถานีปลายทาง''| ถัดไป = '''[[ป้ายหยุดรถไฟอุรุพงษ์]]'''}}
{{สถานีรถไฟ|สาย={{BTS Lines|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม}}<br /> ช่วงรังสิต-บางซื่อ-หัวลำโพง |สี ={{BTS color|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม}} | ก่อนหน้า=[[สถานียศเส (รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม)|สถานียศเส]]''<br />มุ่งหน้า [[สถานีรังสิต (รถไฟฟ้าชานเมือง)|สถานีรังสิต]]'' | ถัดไป = ''สถานีปลายทาง''}}
{{สถานีรถไฟ|สาย={{BTS Lines|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม}}<br /> ช่วงหัวลำโพง-บางบอน-มหาชัย|สี ={{BTS color|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม}} | ก่อนหน้า= ''สถานีปลายทาง''| ถัดไป = [[สถานีคลองสาน (รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม)|สถานีคลองสาน]]''<br />มุ่งหน้า [[สถานีมหาชัย (รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม)|สถานีมหาชัย]]''}}
{{สถานีรถไฟ|สาย={{BTS Lines|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}}<br> ''เชื่อมต่อที่ [[สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)|สถานีหัวลำโพง]]'' |สี ={{BTS color|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}} | ก่อนหน้า=''สถานีปลายทาง''| ถัดไป =[[สถานีสามย่าน]] <br > มุ่งหน้า ''[[สถานีเตาปูน]]''}}
{{จบกล่อง}}
| image = หัวลำโพง.JPG
| image_size = 280px
| image_caption =
| address = [[ถนนรองเมือง]] แขวงรองเมือง [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| coordinates = {{coord|13.73999|N|100.518143|E}}
| line = {{color box|blue}} [[ทางรถไฟสายเหนือ|สายเหนือ]]<br/>{{color box|green}} [[ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ|สายตะวันออกเฉียงเหนือ]]<br/>{{color box|red}} [[ทางรถไฟสายใต้|สายใต้]]<br/>{{color box|orange}} [[ทางรถไฟสายตะวันออก|สายตะวันออก]]
เส้น 38 ⟶ 44:
| services =
| map_locator =
| route_box = {{เริ่มทางรถไฟ}}
{{สถานีรถไฟ|สาย=รถไฟทางไกล [[ทางรถไฟสายเหนือ|สายเหนือ]] - [[ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ|สายตะวันออกเฉียงเหนือ]] - [[ทางรถไฟสายใต้|สายใต้]]|สี = 808080 | ก่อนหน้า= ''สถานีปลายทาง''| ถัดไป = '''[[ป้ายหยุดรถไฟยมราช]]'''}}
{{สถานีรถไฟ|สาย=รถไฟทางไกล [[ทางรถไฟสายตะวันออก|สายตะวันออก]] |สี = 808080 | ก่อนหน้า= ''สถานีปลายทาง''| ถัดไป = '''[[ป้ายหยุดรถไฟอุรุพงษ์]]'''}}
{{สถานีรถไฟ|สาย={{BTS Lines|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม}}<br /> ช่วงรังสิต-บางซื่อ-หัวลำโพง |สี ={{BTS color|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม}} | ก่อนหน้า=[[สถานียศเส (รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม)|สถานียศเส]]''<br />มุ่งหน้า [[สถานีรังสิต (รถไฟฟ้าชานเมือง)|สถานีรังสิต]]'' | ถัดไป = ''สถานีปลายทาง''}}
{{สถานีรถไฟ|สาย={{BTS Lines|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม}}<br /> ช่วงหัวลำโพง-บางบอน-มหาชัย|สี ={{BTS color|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม}} | ก่อนหน้า= ''สถานีปลายทาง''| ถัดไป = [[สถานีคลองสาน (รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม)|สถานีคลองสาน]]''<br />มุ่งหน้า [[สถานีมหาชัย (รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม)|สถานีมหาชัย]]''}}
{{สถานีรถไฟ|สาย={{BTS Lines|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}}<br> ''เชื่อมต่อที่ [[สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)|สถานีหัวลำโพง]]'' |สี ={{BTS color|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}} | ก่อนหน้า=''สถานีปลายทาง''| ถัดไป =[[สถานีสามย่าน]] <br > มุ่งหน้า ''[[สถานีเตาปูน]]''}}
{{จบกล่อง}}
}}
[[ไฟล์:Bkk-Hualamphong-newlypainted-0802-2.jpg|thumb|250px|ภายนอกสถานีรถไฟกรุงเทพ]]
[[ไฟล์:Estación de FF.CC., Bangkok, Tailandia, 2013-08-23, DD 01.jpg|thumb|250px|ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ]]
 
'''สถานีรถไฟกรุงเทพ''' หรือที่นิยมเรียกกันว่า '''สถานีรถไฟหัวลำโพง''' เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างเริ่มก่อสร้างขึ้นในสมัย ปลายรัชสมัย[[รัชกาลที่ 5พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ในปี [[พ.ศ. 2453]] สร้างเสร็จและเริ่มเปิดใช้งาน เมื่อวันที่ [[25 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2459]] ในปัจจุบันรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สถานีรถไฟกรุงเทพมีทางปัจจุบันสามารถเชื่อมต่อที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดูกลมกลืนกับ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]]หรือรถไฟฟ้าใต้ดิน ได้บริเวณ[[ถนนพระรามที่ 4]] โดยมีรูปแบบของทางเชื่อมต่อทางสถาปัตยกรรมที่กลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานคร
 
การก่อสร้างสถานีกรุงเทพ ก่อสร้างในลักษณะ[[โดม]]สไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบ[[เรอเนสซองซ์]] ซึ่งมีความคล้ายคลึงคล้ายกับ[[สถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ต]]ใน[[ประเทศเยอรมนี]] การประดับหลัก ประดับด้วย[[หินอ่อน]]และเพดานมี[[การสลักลายนูน]]ต่าง ๆ เป็นหลัก โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่รัศมี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16080 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง
 
สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน โดยมีผู้โดยสารที่มาใช้บริการที่สถานีกรุงเทพหลายหมื่นคน (ข้อมูลในปี พ.ศ. 2561) และโดยเฉพาะช่วงวันสำคัญและวันหยุดเนื่องในเทศกาลต่าง ๆ ของไทย เช่น [[วันขึ้นปีใหม่]] [[วันสงกรานต์]] จะมีผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก
 
== ประวัติ ==
เส้น 72 ⟶ 71:
|seealso = ย่านชานเมือง
}}
'''สถานีรถไฟกรุงเทพ''' หรือที่นิยมเรียกว่า '''สถานีรถไฟหัวลำโพง''' ซึ่งคำว่า '''หัวลำโพง''' มักสันนิษฐานตามข้อสันนิษฐานของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ว่าตั้งชื่อตามชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งคือ ต้นลำโพง ซึ่งเคยมีมากในบริเวณนี้ จึงเรียกว่า ทุ่งหัวลำโพง หรือ ทุ่งวัวลำพอง ซึ่งแต่เดิมคงเคยเป็นที่เลี้ยงวัวของแขก ซึ่งคำว่า วัวลำพอง เพี้ยนมาจากคำว่า หัวลำโพง เนื่องจากชาวต่างชาติในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] ไม่สามารถอ่านคำว่า หัวลำโพง ได้
 
แต่ทั้งนี้ที่มาของชื่อนั้นยังไม่เป็นที่แน่ชัด เนื่องจากรัชกาลที่ 5 ทรงมีประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 14 ฉบับที่ 148 พุทธศักราช 2440 ว่า วัวลำพอง กับ หัวลำโพง มิใช่สถานที่เดียวกัน <ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=Abc-070vPts|date=2011-03-23|title=CHN_274_หัวลำโพง|work=ชื่อนั้น...สำคัญไฉน?}}</ref> และมีอีกคำอธิบายว่า อาจจะเป็นคำผสมทั้งภาษาไทยกับ[[ภาษามลายู]] จากคำว่า ขัว ในภาษาไทย ซึ่งแปลว่า สะพาน กับคำว่า ''lampung'' ในภาษามลายู (ออกเสียง ลำพุง) แปลว่า ชั่วคราว, ลอย ขัวลำพุง จึงหมายถึง สะพานชั่วคราว (ทอดข้ามหรือลอยในลำน้ำ) กลายเป็นหัวลำโพง เพื่อสะดวกการออกเสียงของชาวไทยไปในที่สุด ทั้งนี้ใกล้กับบริเวณหัวลำโพงขึ้นไปทางทิศเหนือ มีถนนคลองลำปัก ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าจะมาจากภาษามลายูอีกเช่นกัน คือ ''lambak'' ที่หมายถึง กองของสิ่งของต่าง ๆ <ref>{{cite web|title=ศิลปวัฒนธรรม|date=2017-01-28|author=ป.ศรีนาค|title=ชื่อมลายูในกรุงเทพฯ|url=https://www.silpa-mag.com/club/art-and-culture/article_6028}}</ref>
เส้น 96 ⟶ 95:
** ปลายทาง[[สถานีรถไฟสุไหงโก-ลก]] ระยะทาง 1,142.99 กิโลเมตร
 
สถานีรถไฟกรุงเทพในปัจจุบัน มี[[สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)|สถานีหัวลำโพง]] ในเส้นทางของ[[รถไฟฟ้าใต้ดินมหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] ให้บริการอยู่ภายในชั้นใต้ดินของสถานีรถไฟ
 
== แผนผังสถานี ==