ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 244:
<!-- Diagram image -->
<!-- {{Css Image Crop |Image= |bSize= 160px |cWidth= 50 |cHeight= 80 |oTop= 0 |oLeft= 0 |Location= Center}} -->
| style="text-align:left;" | ออกแบบมาเพื่อทำการศึกษา[[สนามแม่เหล็ก]] ของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ ปฏิกิริยาระหว่าง[[พายุสุริยะ]]ที่มีต่อ[[แม็กนีโตสเฟียร์]]ของดาวเคราะห์แต่ละดวง สนามแม่เหล็กของ[[อวกาศชั้นนอก]] ไปจนถึงเส้นขอบระหว่าง[[ลมสุริยะ]]กับสนามแม่เหล็กของ[[ช่องว่างอวกาศระหว่างดาว]] [https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/experimentDisplay.do?id=1977-084A-05 เพิ่มเติม]
 
|-
บรรทัด 304:
<!-- Diagram image -->
<!-- {{Css Image Crop |Image= |bSize= 160px |cWidth= 50 |cHeight= 80 |oTop= 0 |oLeft= 0 |Location= Center}} -->
| style="text-align:left;" |อาศัยการทำงานของเสาอากาศที่ยืดหดได้ในการวัดปฏิกิริยาของคลื่นอิเล็กตรอนบริเวณรอบดาวเคราะห์กับช่วง[[มวลสารระหว่างดาว]] โดยการตรวจวัดค่าความเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้าเมื่อเสาอากาศเคลื่อนผ่านกลุ่มเมฆประจุไฟฟ้า [https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/experimentDisplay.do?id=1977-084A-13 เพิ่มเติม]
|}
 
บรรทัด 449:
|-
| 25 สิงหาคม 2012
| ผ่านเข้าสู่อวกาศชั้น[[เฮลิโอสเฟียร์#เฮลิโอพอส|เฮลิโอพอส]]ที่ระยะ 121 [[หน่วยดาราศาสตร์]] และเข้าสู่[[ช่องว่างอวกาศระหว่างดาว]]
|-
| 7 กรกฎาคม 2014
| ยืนยันตำแหน่งของยานอยู่ใน[[ช่องว่างอวกาศระหว่างดาว]]
|-
| 19 เมษายน 2016
บรรทัด 515:
ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' โคจรที่ระยะห่าง 69 [[หน่วยดาราศาสตร์]]จากดวงอาทิตย์ ซึ่งมากกว่าระยะที่ยาน[[ไพโอเนียร์ 10]] ที่เคยเป็นยานอวกาศที่โคจรห่างจากโลกมากที่สุด<ref name="cnn.9802">{{cite news|title=Voyager 1 now most distant man-made object in space|url=http://edition.cnn.com/TECH/space/9802/17/nasa.distant.objects/|publisher=CNN|accessdate=July 1, 2012|archiveurl=https://www.webcitation.org/68pdJn9M5?url=http://edition.cnn.com/TECH/space/9802/17/nasa.distant.objects/|archivedate=July 1, 2012|date=February 17, 1998|deadurl=yes|df=mdy-all}}</ref><ref name="g.2013sep13">{{cite news|last=Clark|first=Stuart|title=Voyager 1 leaving solar system matches feats of great human explorers|url=https://www.theguardian.com/science/across-the-universe/2013/sep/13/voyager-1-solar-system-great-explorers|newspaper=The Guardian|date=September 13, 2013}}</ref> นอกจากนี้ยานยังเดินทางด้วยความเร็วประมาณ 17 กิโลเมตรต่อวินาที (11 ไมล์ต่อวินาที)<ref name="goo.50">{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=-vZ0BVSHix4C&pg=PA62|title=If the Universe is Teeming with Aliens … WHERE IS EVERYBODY?: Fifty Solutions to the Fermi Paradox and the Problem of Extraterrestrial Life|isbn=978-0-387-95501-8|last=Webb|first=Stephen|date=October 4, 2002}}</ref> ซึ่งเป็น[[ความเร็วถอยห่าง]]จากดวงอาทิตย์ที่มากที่สุดเมื่อเทียบกับยานอวกาศทุกลำ<ref name="dd.fast">{{cite web|url=http://www.daviddarling.info/encyclopedia/F/fastest_spacecraft.html|title=Fastest Spacecraft|first=David|last=Darling|accessdate=August 19, 2013}}</ref>
 
ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้เดินทางเข้าสู่ช่องว่าง[[อวกาศระหว่างดาว]] มีการใช้อุปกรณ์ตรวจวัดเพื่อทำการศึกษาระบบสุริยะอย่างต่อเนื่อง นักวิทยาศาสตร์ของศูนย์ปฏิบัติการเครื่องยนต์ไอพ่น (JPL) ได้เปิดใช้งานอุปกรณ์ปล่อย[[คลื่นพลาสมา]]ที่ติดตั้งอยู่บนทั้งยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' และ ''2'' เพื่อทำการศึกษา[[เฮลิโอพอส]] ซึ่งเป็นแนวเขตที่[[ลมสุริยะ]]ได้ถูกหยุดลงเพราะเป็นบริเวณแรงดันของ[[มวลสารระหว่างดาว]]กับลมสุริยะเข้าสู่สมดุลกัน<ref name="nasa.int">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|publisher=JPL|title=Voyager 1 in heliopause|accessdate=August 18, 2013}}</ref> ในปี ค.ศ. 2013 ยานสำรวจโคจรด้วยความเร็วสัมพัทธ์กับดวงอาทิตย์ประมาณ 17,030 เมตรต่อวินาที (55,900 ฟุตต่อวินาที)<ref name="nasa.201309062">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/weekly-reports/|title=Voyager Mission Operations Status Report # 2013-09-06, Week Ending September 6, 2013|publisher=JPL|accessdate=September 15, 2013}}</ref> และในปัจจุบันยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' โคจรโดยคงความเร็วคงที่ 325 ล้านไมล์ (523×10<sup>6</sup> กิโลเมตร) ต่อปี<ref>{{cite news|last=Wall|first=Mike|url=https://www.space.com/22729-voyager-1-spacecraft-interstellar-space.html|title=It's Official! Voyager 1 Spacecraft Has Left Solar System|work=Space.com|date=September 12, 2013|accessdate=May 30, 2014}}</ref> หรือประมาณ 1 [[ปีแสง]]ใน 18,000 ปี
 
=== กำแพงกระแทก ===
บรรทัด 527:
วันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 2010 ไมีการยืนยันว่ายานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' เดินทางผ่านขอบเขตของการขยายตัวของ[[ลมสุริยะ]] โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากเครื่องตรวจวัดอนุภาคมีประจุพลังงานต่ำ (Low Energy Charged Particle: LECP) นักวิทยาศาสตร์ได้ตั้งข้อสันนิษฐานว่าลมสุริยะในบริเวณนี้มีทิศทางไหลย้อนกลับอันเนื่องมาจากกระแสลมระหว่างดาว (interstellar wind) ที่พยายามไหลต้านกับ[[เฮลิโอสเฟียร์]] และในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2010 มีการตรวจพบว่าลมสุริยะมีค่าคงที่เป็นศูนย์ ซึ่งสามารถใช้สนับสนุนข้อสันนิษฐานนี้ได้เป็นอย่างดี<ref name="nasa.36121">{{cite web|url=http://solarsystem.nasa.gov/news/display.cfm?News_ID=36121|title=Voyager 1 Sees Solar Wind Decline|publisher=NASA|date=December 13, 2010|accessdate=September 16, 2013|deadurl=yes|archiveurl=https://www.webcitation.org/617oC2rqu?url=http://solarsystem.nasa.gov/news/display.cfm?News_ID=36121|archivedate=August 22, 2011|df=mdy-all}}</ref><ref name="Krimigis2011">{{Cite journal|last1=Krimigis|first1=S. M.|last2=Roelof|first2=E. C.|last3=Decker|first3=R. B.|last4=Hill|first4=M. E.|title=Zero outward flow velocity for plasma in a heliosheath transition layer|doi=10.1038/nature10115|journal=Nature|volume=474|issue=7351|pages=359–361|year=2011|pmid=21677754|pmc=|bibcode=2011Natur.474..359K}}</ref> ในวันนั้นยานโคจรห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 116 หน่วยดาราศาสตร์ หรือประมาณ 17.3 พันล้านกิโลเมตร (10.8 พันล้านไมล์)<ref name="bbc.11988466">{{cite news|url=https://www.bbc.co.uk/news/science-environment-11988466|title=Voyager near Solar System's edge|first=Jonathan|last=Amos|work=BBC News|date=December 14, 2010|accessdate=December 21, 2010}}</ref>
 
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้รับคำสั่งให้หมุนตัวยานเพื่อทำการตรวจวัดการเลี้ยวเบนของลมสุริยะของบริเวณนี้ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2011 (ประมาณ 33 ปีหลังการปล่อยยาน) ภายหลังการทดสอบที่แล้วเสร็จในเดือนกุมภาพันธ์ ทำให้ยานมีความพร้อมที่จะถูกควบคุมให้หมุนตัวได้อีกครั้ง โดยยังคงแนวโคจรไว้เช่นเดิม แต่จะหมุนตัวยานไป 70 องศาทวนเข็มนาฬิกาเมื่อเทียบกับโลกเพื่อทำการตรวจจับลมสุริยะ (ถือเป็นครั้งแรกที่มีการบังคับตัวยานครั้งใหญ่นับตั้งแต่การถ่าย[[ภาพครอบครัวสุริยะ]]ในปี ค.ศ. 1990) โดยหลังจากการหมุนตัวยานในครั้งแรกพบว่าตัวยานสามารถหมุนตัวกลับมาหาดาว[[แอลฟาคนครึ่งม้า]] (α-Centauri) ซึ่งเป็นดาวนำทางของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้โดยไม่พบปัญหาใดๆ และยังสามารถส่งสัญญาณกลับมายังโลกได้เหมือนเดิมอีกด้วย คาดว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เดินทางเข้าสู่[[อวกาศช่องว่างระหว่างดาว]]ไปแล้วโดยไม่ทราบวันเวลาแน่ชัด ในขณะยาน ''วอยเอจเจอร์ 2'' ยังคงกำลังตรวจวัดการไหลออกของลมสุริยะที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งซึ่งคาดว่าน่าจะตามหลังยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ในแง่ของเหตุการณ์ที่ได้พบไปประมาณหลายเดือนหรือหลายปี<ref name="nasa.mission">{{cite web|author=NASA|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/news/answer_wind.html|title=Voyager – The Interstellar Mission|publisher=NASA|accessdate=September 16, 2013}}</ref><ref name="bbc.12688246">{{cite news|url=https://www.bbc.co.uk/news/science-environment-12688246|work=BBC News|title=Voyager: Still dancing 17 billion km from Earth|date=March 9, 2011}}</ref>
 
ปัจจุบันตำแหน่งของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2019 เทียบจากโลกตาม[[พิกัดศูนย์สูตร]] (equatorial coordinates) คือ[[เดคลิเนชัน]]ที่ 12 องศา 27 ลิปดา, [[ไรต์แอสเซนชัน]]ที่ 17 ชั่วโมง 14 นาที และ[[ละติจูดสุริยะ]]ที่ 35 องศา (ละติจูดสุริยะจะเปลี่ยนช้ามาก) ซึ่งเป็นตำแหน่งของ[[กลุ่มดาวคนแบกงู]] (Ophiuchus)<ref name="faq3" />
บรรทัด 533:
ในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 2011 มีการประกาศว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ตรวจพบรังสีช่วง[[:en:Lyman_series|ไลแมน-อัลฟา]] (Lyman-alpha) ที่มีจุดกำเนิดมาจากดาราจักร[[ทางช้างเผือก]] (Milky Way) ได้เป็นครั้งแรก จากปกติยานจะพบแต่รังสีช่วงไลแมน-อัลฟาที่มาจากดาราจักรอื่นๆ รังสีที่มาจากดาราจักรทางช้างเผือกจะถูกรบกวนจากดวงอาทิตย์ ทำให้ไม่สามารถตรวจจับได้<ref name="ng.111201">{{cite web|url=https://news.nationalgeographic.com/news/2011/12/111201-voyager-probes-milky-way-light-hydrogen-sun-nasa-space|title=Voyager Probes Detect "invisible" Milky Way Glow|publisher=National Geographic|date=December 1, 2011|accessdate=December 4, 2011}}</ref>
 
องค์การนาซาได้ลงประกาศในวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 2011 ว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้โคจรเข้าสู่อวกาศพื้นที่ใหม่ที่เรียกว่า "cosmic purgatory" ซึ่งเป็นชื่อเรียกพื้นที่สแตกเนชัน (stagnation) กล่าวคือ ภายในพื้นที่นี้อนุภาคมีประจุที่ปลดปล่อยออกมาจากดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ช้าลงและเริ่มเคลื่อนที่ย้อนกลับ และด้วยสนามแม่เหล็กของระบบสุริยะที่มากกว่าสนามแม่เหล็กของช่องว่าง[[อวกาศระหว่างดาว]]ถึงสองเท่านั้นได้ก่อให้เกิดเป็นแรงดันขึ้น อนุภาคมีพลังงานที่มีจุดกำเนิดมาจากระบบสุริยะจะลดลงเกือบกึ่งหนึ่ง ขณะที่มีการตรวจพบอิเล็กตรอนพลังงานสูงจากบริเวณภายนอกมากถึง 100 ทบ เส้นขอบส่วนในของพื้นที่สแตกเนชันนี้อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 113 หน่วยดาราศาสตร์<ref name="cnn.20111206">{{cite news|url=http://lightyears.blogs.cnn.com/2011/12/06/spacecraft-enters-cosmic-purgatory/|title=Spacecraft enters 'cosmic purgatory'|date=December 6, 2011|accessdate=December 7, 2011|work=CNN}}</ref>
 
=== เฮลิโอพอส ===
บรรทัด 545:
| caption2 = กราฟแสดงอัตราการตรวจพบอนุภาคของ[[ลมสุริยะ]]ที่ลดลงอย่างรวดจากยานวอยเอจเจอร์ 1 (ตุลาคม 2011 ถึง ตุลาคม 2012)
}}
นาซาได้ลงประกาศในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2012 ว่ายานสำรวจได้ตรวจพบความเปลี่ยนแปลงบริเวณโดยรอบยานที่คาดว่าน่าจะบ่งบอกการมาถึงของ[[เฮลิโอพอส]]<ref name="space.16167">{{cite web|url=https://www.space.com/16167-voyager1-spacecraft-interstellar-space.html|title=NASA Voyager 1 Spacecraft Nears Interstellar Space|publisher=Space.com|accessdate=August 19, 2013}}</ref> ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้รายงานว่ามีการเพิ่มขึ้นของอนุภาคมีประจุจากอวกาศชั้นช่องว่าง[[อวกาศระหว่างดาว]] (interstellar space) ซึ่งปกติจะมีการหักเหเนื่องจากอิทธิพลของลมสุริยะภายในชั้น[[เฮลิโอสเฟียร์]]ที่มาจากดวงอาทิตย์ นั่นหมายความว่ายานได้เริ่มโคจรเข้าสู่ชั้นสสาร[[มวลสารระหว่างดาว]] (interstellar medium) ซึ่งสุดขอบของระบบสุริยะแล้ว<ref name="nasa.20120614">{{cite web|url=https://www.nasa.gov/mission_pages/voyager/voyager20120614.html|title=Data From NASA's Voyager 1 Point to Interstellar Future|publisher=[[NASA]]|date=June 14, 2012|accessdate=June 16, 2012}}</ref>
 
ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เป็นยานอวกาศลำแรกที่ได้เดินทางเข้าสู่อวกาศชั้นเฮลิโอพอสในเดือนสิงหา ค.ศ. 2012 ซึ่งเป็นระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 121 หน่วยดาราศาสตร์ อย่างไรก็ตามเหตุการณ์นี้เพิ่งจะได้รับการยืนยันในช่วง 1 ปีให้หลังไปแล้ว<ref name="Cook2013">{{cite web|last=Cook|first=J.-R. C.|last2=Agle|first2=D.C.|last3=Brown|first3=D.|title=NASA Spacecraft Embarks on Historic Journey into Interstellar Space|website=NASA|date=September 12, 2013|url=https://www.nasa.gov/mission_pages/voyager/voyager20130912.html|accessdate=September 14, 2013}}</ref><ref name="Ghose2013">{{cite web|last=Ghose|first=Tia|title=Voyager 1 Really Is in Interstellar Space: How NASA Knows|website=Space.com|publisher=TechMedia Network|date=September 13, 2013|url=https://www.space.com/22797-voyager-1-interstellar-space-nasa-proof.html|accessdate=September 14, 2013}}</ref><ref name="Cowen2013">{{Cite journal|last1=Cowen|first1=R.|doi=10.1038/nature.2013.13735|title=Voyager 1 has reached interstellar space|journal=Nature|year=2013|pmid=|pmc=}}</ref><ref name="Kerr2013">{{Cite journal|last1=Kerr|first1=R. A.|title=It's Official—Voyager Has Left the Solar System|doi=10.1126/science.341.6151.1158|journal=Science|volume=341|issue=6151|pages=1158–1159|year=2013|pmid=24030991|pmc=}}</ref><ref name="Gurnett2013">{{Cite journal|last1=Gurnett|first1=D. A.|last2=Kurth|first2=W. S.|last3=Burlaga|first3=L. F.|last4=Ness|first4=N. F.|title=In Situ Observations of Interstellar Plasma with Voyager 1|doi=10.1126/science.1241681|journal=Science|year=2013|pmid=24030496|pmc=|volume=341|issue=6153|pages=1489–1492|bibcode=2013Sci...341.1489G}}</ref>
บรรทัด 551:
ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2019 แสงจากดวงอาทิตย์ต้องใช้เวลาประมาณ 20.11 ชั่วโมงเพื่อเดินทางไปถึงยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ซึ่งคือระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 145 หน่วยดาราศาสตร์ ค่า[[ความส่องสว่างปรากฏ]]เท่ากับ -15.9 หน่วย (น้อยกว่าค่าความสว่างของดวงจันทร์เต็มดวง 30 เท่า)<ref name="Peat-201209092">{{cite web|last=Thongoon|first=Kiattisak|title=Spacecraft escaping the Solar System|url=https://www.heavens-above.com/SolarEscape.aspx|date=June 7, 2019|publisher=Heavens-Above|accessdate=June 7, 2019}}</ref> ยานกำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสัมพัทธ์กับดวงอาทิตย์ 16.972 กิโลเมตรต่อวินาที (10.434 กิโลไมล์ต่อวินาที) ด้วยความเร็วนี้จะต้องใช้เวลาประมาณ 17,676 ปีเพื่อเดินทางให้ได้ระยะทางเท่ากับ 1 [[ปีแสง]]<ref name="Peat-201209092" />
 
ช่วงปลายปี ค.ศ. 2012 กลุ่มนักวิจัยพบว่าข้อมูลอนุภาคที่ได้จากยานบ่งชี้ว่ายานได้เดินทางผ่านชั้นเฮลิโอพอสแล้ว ค่าต่างๆ ที่วัดได้แสดงให้เห็นว่ามีการชนกันของอนุภาคพลังงานสูงเพิ่มขึ้นแบบคงที่ (มากกว่า 70 ล้าน[[อิเล็กตรอนโวลต์]]) ซึ่งเชื่อว่าเป็น[[รังสีคอสมิก]]ที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากการระเบิด[[ซูเปอร์โนวา]]ที่ไกลออกไปจาก[[ระบบสุริยะ]] นอกจากนี้ในปลายเดือนสิงหาคมยังพบว่าการชนกันของอนุภาคพลังงานสูงมีค่าสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ขณะเดียวกันการชนกันของอนุภาคพลังงานต่ำพบว่ามีค่าลดลงเช่นกัน ซึ่งเชื่อว่าอนุภาคพลังงานต่ำเหล่านี้มีต้นกำเนิดมาจากดวงอาทิตย์<ref name="lifeslittlemysteries.com">{{cite web|url=https://www.livescience.com/23822-voyager-spacecraft-solar-system.html|title=Did NASA's Voyager 1 Spacecraft Just Exit the Solar System?|publisher=livescience|first=Natalie|last=Wolchover|accessdate=August 20, 2013}}</ref> Ed Roelof นักวิทยาศาสตร์อวกาศจาก[[มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์]]และเป็นผู้ติดตามข้อมูลการสำรวจของเครื่องตรวจวัดอนุภาคมีประจุพลังงานต่ำ (LECP) ได้ประกาศว่า "เหล่านักวิทยาศาสตร์ที่ดูแลยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ต่างพึงพอใจเป็นอย่างมาก"<ref name="lifeslittlemysteries.com" /> อย่างไรก็ตามหลักเกณฑ์สุดท้ายที่ใช้ยืนยันว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้โคจรผ่านบริเวณที่คาดว่ามีการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็ก (ทั้งจากดวงอาทิตย์และจากช่องว่าง[[อวกาศระหว่างดาว]]) ไม่ได้ถูกตั้งข้อสังเกต (สนามแม่เหล็กเปลี่ยนทิศเพียง 2 องศา<ref name="Ghose2013" />) ซึ่งนั่นอาจทำให้มีการระบุแนวขอบของเฮลิโอพอสมีความผิดพลาดได้
 
ในวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 2012 ดร.เอ็ด สโตน นักวิทยาศาสตร์ของโครงการวอยเอจเจอร์จาก[[สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]] (Caltech) กล่าวไว้ว่า "ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ค้นพบพื้นที่ใหม่ในเฮลิโอพอสที่เราไม่เคยทราบมาก่อน ตอนนี้ยานยังอยู่ภายใน แต่สนามแม่เหล็กสามารถเชื่อมต่อกับภายนอกได้ มันเป็นเหมือนถนนที่เป็นทางเข้าออกของเหล่าอนุภาค"<ref name="sciam.20121204">{{cite web|url=https://blogs.scientificamerican.com/observations/2012/12/04/despite-tantalizing-hints-voyager-1-has-not-crossed-into-the-interstellar-medium/|title=Despite Tantalizing Hints, Voyager 1 Has Not Crossed into the Interstellar Medium|first=John|last=Matson|date=December 4, 2012|publisher=Scientific American|accessdate=August 20, 2013}}</ref> สนามแม่เหล็กบริเวณนี้สูงมากกว่า 10 เท่าเทียบกับที่ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้เคยเจอมาก่อนในบริเวณชั้นกำแพงกระแทก คาดว่าบริเวณนี้เป็นแนวกั้นสุดท้ายก่อนที่ยานจะเดินทางออกไปจากระบบสุริยะอย่างสมบูรณ์และเริ่มเข้าสู่ช่องว่าง[[อวกาศระหว่างดาว]]<ref name="d.121203">{{cite web|url=http://news.discovery.com/space/voyager-1-flys-into-a-mystery-magnetic-highway-121203.html|title=Voyager 1 Can 'Taste' the Interstellar Shore|work=Discovery News|publisher=Discovery Channel|date=December 3, 2012|accessdate=September 16, 2013}}</ref><ref name="sciam.20121203">{{cite web|last=Oakes|first=Kelly|url=https://blogs.scientificamerican.com/basic-space/2012/12/03/voyager-1-is-still-not-out-of-the-solar-system/|title=Voyager 1 is still not out of the Solar System|work=Basic Space Blog|publisher=Scientific American|date=December 3, 2012|accessdate=September 16, 2013}}</ref><ref name="DailyNews2012.12">{{cite news|url=http://www.dnaindia.com/scitech/report_voyager-1-probe-leaving-solar-system-reaches-magnetic-highway-exit12-4-2012-8-04-28-am_1773168%7C|title=Voyager 1 probe leaving Solar System reaches 'magnetic highway' exit|publisher=Daily News & Analysis|date=December 4, 2012|agency=Reuters|accessdate=December 4, 2012}}</ref>
 
เดือนมีนาคม ค.ศ. 2013 มีการประกาศว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' อาจเป็นยานอวกาศลำแรกที่เดินทางเข้าสู่ช่องว่าง[[อวกาศระหว่างดาว]] โดยตรวจพบความเปลี่ยนแปลงของพลาสมาบรืเวณโดยรอบมาตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2012 อย่างไรก็ตามมีการถกเถียงกันว่าพิ้นที่นี้คือช่องว่างอวกาศระหว่างดาวหรือเป็นพื้นที่ของระบบสุริยะที่ไม่เคยค้นพบกันแน่ มีการถกประเด็นเรื่อยมาจนถึงวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 2013 ซึ่งมีการประกาศยืนยันอย่างเป็นทางการ<ref name="agu">{{cite web|title=Voyager 1 has entered a new region of space, sudden changes in cosmic rays indicate|url=http://www.agu.org/news/press/pr_archives/2013/2013-11.shtml|publisher=American Geophysical Union|date=March 20, 2013|deadurl=yes|archivedate=March 22, 2013|archiveurl=https://web.archive.org/web/20130322025117/http://www.agu.org/news/press/pr_archives/2013/2013-11.shtml}}</ref><ref name="How_We_Know2">{{cite web|last=Cook|first=J.-R|title=How Do We Know When Voyager Reaches Interstellar Space?|publisher=NASA / Jet Propulsion Lab|date=September 12, 2013|url=https://www.jpl.nasa.gov/news/news.php?release=2013-278|accessdate=September 15, 2013}}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 2013 ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' กำลังออกจากระบบสุริยะด้วยความเร็วประมาณ 3.6 หน่วยดาราศาสตร์ต่อปี ขณะที่ยาน ''วอยเอจเจอร์ 2'' โคจรด้วยความเร็วที่ช้ากว่าที่ประมาณ 2.96 หน่วยดาราศาสตร์ต่อปี<ref>{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/fastfacts.html|title=Voyager - Fast Facts|website=voyager.jpl.nasa.gov}}</ref> โดยยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' จะนำหน้ายาน ''วอยเอจเจอร์ 2'' มากขึ้นเรื่อยๆ ทุกๆ ปี
บรรทัด 562:
 
สถานะปัจจุบันสามารถติดตามได้จากเว็บไซต์ของนาซา (ดูลิงก์ภายนอก)<ref name="voyager" />
[[ไฟล์:Interstellar probes (cropped).jpg|thumb|350x350px|ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' และยานสำรวจอื่นๆ ที่เดินทางไปยังช่องว่าง[[อวกาศระหว่างดาว]] ยกเว้นยาน ''[[นิวฮอไรซันส์]]'']]
 
== มวลสารระหว่างดาว ==
[[ไฟล์:Voyager Captures Sounds of Interstellar Space.webm|left|thumb|ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' มีส่งสัญญาณที่สร้างจาก[[พลาสมา (สถานะของสสาร)|คลื่นพลาสมา]]ที่มาจากช่องว่าง[[อวกาศระหว่างดาว]]]]
วันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 2013 องค์การนาซาได้ยืนยันอย่างเป็นทางการว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้เดินทางถึงชั้น[[มวลสารระหว่างดาว]]แล้วตั้งแต่เดือนสิงหาคม ค.ศ. 2012 หลังจากมีการตรวจสอบ และตกลงว่าเกิดขึ้นในวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2012 (ประมาณ 10 วันก่อนครบรอบ 34 ปีที่ปล่อยยาน) ช่วงเวลาอาจไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับว่ามีการตรวจพบความเปลี่ยนแปลงของอนุภาคมีพลังงานครั้งแรกเมื่อใด<ref name="Cowen2013" /><ref name="Kerr2013" /><ref name="Gurnett2013" /> ตรงจุดนี้บรรดานักวิทยาศาสตร์อวกาศได้ทิ้งสมมติฐานที่ว่าการเปลี่ยนแปลงทิศทางของสนามแม่เหล็กจะเกิดขึ้นพร้อมกับการข้ามผ่านเฮลิโอพอส<ref name="Kerr2013" /> แบบจำลองเฮลิโอพอสแบบใหม่ได้ทำนายว่าอาจไม่พบความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้มากนัก<ref name="Swisdak2013">{{Cite journal|last1=Swisdak|first1=M.|last2=Drake|first2=J. F.|last3=Opher|first3=M.|title=A Porous, Layered Heliopause|doi=10.1088/2041-8205/774/1/L8|journal=The Astrophysical Journal|volume=774|issue=1|pages=L8|year=2013|pmid=|pmc=|arxiv=1307.0850|bibcode=2013ApJ...774L...8S}}</ref>
 
กุญแจสำคัญที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนเชื่อว่ายานเคลื่อนที่ผ่านเฮลิโอพอสไปแล้วก็คือการตรวจพบอิเล็กตรอนที่มีความหนาแน่นเพิ่มขึ้นถึง 80 ทบ อ้างอิงจากการแกว่งของพลาสมาที่เริ่มมาตั้งแต่วันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 2013<ref name="Kerr2013" /> ที่เกิดจากการระเบิดบนดวงอาทิตย์ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2012<ref name="Cook2013" /> (คาดว่าความหนาแน่นของอิเล็กตรอนภายนอกเฮลิโอพอสจะมากกว่าภายใน 2 ระดับในแง่ของขนาด)<ref name="Cowen2013" /> การแกว่งที่น้อยกว่านี้ถูกตรวจพบตั้งแต่เดือนตุลาคมถีงพฤศจิกายน ค.ศ. 2012<ref name="How_We_Know2" /><ref name="Morin2013">{{cite news|last=Morin|first=Monte|title=NASA confirms Voyager 1 has left the Solar System|url=http://www.latimes.com/science/sciencenow/la-sci-sn-nasa-confirms-voyager-1-has-exited-the-solar-system-20130912,0,3406650.story|newspaper=Los Angeles Times|date=September 12, 2013}}</ref> ถูกนำมาใช้ประกอบการศึกษาด้วย
 
การตรวจวัดพลาสมาต้องอาศัยข้อมูลทางอ้อมจากอุปกรณ์วัดอื่นๆ เนื่องจากเครื่องวัดพลาสมา[[สเปกโตรมิเตอร์]]ของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้หยุดทำงานลงตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980<ref name="Gurnett2013" /> ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2013 นาซาได้เผยแพร่สัญญาณเสียงที่แปลงมาจากคลื่นพลาสมาที่วัดได้ใน[[อวกาศชั้นช่องว่างระหว่างดาว]]<ref name="space.22777">{{cite web|url=https://www.space.com/22777-voyager-1-records-sounds-from-interstellar-space-video.html|title=Voyage 1 Records "Sounds" of Interstellar Space|publisher=Space.com|accessdate=December 20, 2013}}</ref>
 
ในขณะที่ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้รับกล่าวถึงอย่างกว้างขวางว่ากำลังจะออกจากระบบสุริยะทันทีที่ออกจากชั้นเฮลิโอพอส แต่โดยทางเทคนิคแล้วกลับไม่เป็นเช่นนั้น เพราะระบบสุริยะถูกนิยามว่าเป็นพื้นที่อันกว้างใหญ่ในอวกาศครอบคลุมเหล่าวัตถุที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ปัจจุบันยานยังโคจรได้น้อยกว่า 1 ใน 7 ของ[[จุดปลายระยะทางวงโคจร]]ของดาว[[90377 เซดนา|เซดนา]] และยังโคจรไม่ถีง[[เมฆออร์ต]] ซึ่งเชื่อว่าเป็นแหล่งต้นกำเนิดของ[[ดาวหาง]] ที่เหล่านักดาราศาสตร์กำหนดว่าเป็นส่วนนอกสุดของระบบสุริยะ<ref name="Ghose2013" /><ref name="How_We_Know2" />
 
== อนาคตของยานสำรวจ ==
[[ไฟล์:Voyager 1 Radio Signal 21 Feb 2013.jpg|thumb|ภาพของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' จากกล้องโทรทัศน์วิทยุเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2013<ref>{{cite news|url=https://www.nasa.gov/mission_pages/voyager/multimedia/pia17047.html|title=Voyager Signal Spotted By Earth Radio Telescopes|work=NASA|publisher=NASA TV|date=September 5, 2013|accessdate=2015-05-20}}</ref>|alt=|170x170px]]
{{Multiple image
''วอยเอจเจอร์ 1'' จะเดินทางถึง[[เมฆออร์ต]]ในราว 300 ปีข้างหน้า<ref name="jpl.PIA170462">{{cite web|url=https://photojournal.jpl.nasa.gov/catalog/PIA17046|title=Catalog Page for PIA17046|work=Photo Journal|publisher=NASA|accessdate=April 27, 2014}}</ref><ref name="ut.1047172">{{cite web|url=https://www.universetoday.com/104717/its-official-voyager-1-is-now-in-interstellar-space/|title=It's Official: Voyager 1 Is Now In Interstellar Space|work=UniverseToday|accessdate=April 27, 2014|date=2013-09-12}}</ref> และใช้เวลาอีกราว 30,000 ปีในการเดินทางผ่าน<ref name="Ghose2013" /><ref name="How_We_Know2" /> แม้ว่ายานจะไม่มุ่งหน้าไปยังดาวฤกษ์ใด แต่อีกประมาณ [[เส้นเวลาของอนาคตไกล#การสำรวจอวกาศและยานอวกาศ|40,000 ปี]] ตัวยานจะอยู่ห่างจากดาว Gliese 445 ซึ่งอยู่ใน[[กลุ่มดาวยีราฟ]]ราว 1.6 [[ปีแสง]]<ref name="voyager_interstellar">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|title=Voyager – Mission – Interstellar Mission|publisher=NASA|date=August 9, 2010|accessdate=March 17, 2011}}</ref> ดาวดวงนี้เคลื่อนที่มายัง[[ระบบสุริยะ]]ด้วยความเร็วประมาณ 119 กิโลเมตรต่อวินาที<ref name="voyager_interstellar" /> นาซากล่าวไว้ว่า ''วอยเอจเจอร์ทั้งคู่ถูกลิขิตให้เร่ร่อนไปในทางช้างเผือกอาจจะชั่วนิรันดร์" ("The ''Voyagers'' are destined—perhaps eternally—to wander the Milky Way.")<ref>{{cite web |url=http://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html |title=Future |publisher=NASA |accessdate=October 13, 2013 }}</ref>''
|align=right
|direction=vertical
| image1 = VoyagerOne Aug 2 2018.png
| caption1 = ภาพจำลองยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เทียบกับระบบสุริยะ เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2018
| image2 = Voyagerprobes Aug 2 2018.png
| caption2 = ภาพจำลองยานทั้ง 2 ลำเทียบกับระบบสุริยะและเฮลิโอพอส เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2018
}}
''วอยเอจเจอร์ 1'' จะเดินทางถึง[[เมฆออร์ต]]ในราว 300 ปีข้างหน้า<ref name="jpl.PIA170462">{{cite web|url=https://photojournal.jpl.nasa.gov/catalog/PIA17046|title=Catalog Page for PIA17046|work=Photo Journal|publisher=NASA|accessdate=April 27, 2014}}</ref><ref name="ut.1047172">{{cite web|url=https://www.universetoday.com/104717/its-official-voyager-1-is-now-in-interstellar-space/|title=It's Official: Voyager 1 Is Now In Interstellar Space|work=UniverseToday|accessdate=April 27, 2014|date=2013-09-12}}</ref> และใช้จะเวลาอีกราว 30,000 ปีในการเดินทางข้ามผ่าน<ref name="Ghose2013" /><ref name="How_We_Know2" /> แม้ว่ายานจะไม่มุ่งหน้าไปยังดาวฤกษ์ใดใดๆ แต่อีกประมาณ [[เส้นเวลาของอนาคตไกล#การสำรวจอวกาศและยานอวกาศ|40,000 ปี]] ตัวยานจะอยู่ห่างจากดาว Gliese 445 ซึ่งอยู่ใน[[กลุ่มดาวยีราฟ]]ราว 1.6 [[ปีแสง]]<ref name="voyager_interstellar">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|title=Voyager – Mission – Interstellar Mission|publisher=NASA|date=August 9, 2010|accessdate=March 17, 2011}}</ref> ดาวดวงนี้เคลื่อนที่มายัง[[ระบบสุริยะ]]ด้วยความเร็วประมาณ 119 กิโลเมตรต่อวินาที<ref name="voyager_interstellar" /> นาซากล่าวไว้ว่า ''วอยเอจเจอร์ทั้งคู่ถูกลิขิตให้เร่ร่อนไปในทางช้างเผือกอาจจะชั่วนิรันดร์" ("The ''Voyagers'' are destined—perhaps eternally—to wander the Milky Way.")<ref>{{cite web |url=http://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html |title=Future |publisher=NASA |accessdate=October 13, 2013 }}</ref>'' และภายใน 300,000 ปีข้างหน้ายานจะอยู่ห่างจากดาว TYC 3135-52-1 ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ประเภท [[การจัดประเภทดาวฤกษ์|M3V]] น้อยกว่า 1 ปีแสง<ref name="Future stellar flybys of the Voyager and Pioneer spacecraft">{{cite journal|title=Future stellar flybys of the Voyager and Pioneer spacecraft|journal=Research Notes of the AAS|volume=3|issue=4|pages=59|publisher=RNAAS 3, 59|date=3 April 2019|doi=10.3847/2515-5172/ab158e|last1=Bailer-Jones|first1=Coryn A. L.|last2=Farnocchia|first2=Davide|bibcode=2019RNAAS...3d..59B}}</ref>
 
เชื่อว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' จะท่องไปในห้วงลึกของอวกาศโดยไม่ชนกับวัตถุใดๆ และไม่มีทางที่จะกู้คืนได้อีกแล้ว ในทางกลับกันยานสำรวจ ''[[นิวฮอไรซันส์]]'' กลับไม่เป็นเช่นนั้น แม้ความเร็วตอนปล่อยยานจากโลกจะสูงกว่ายานวอยเอจเจอร์ทั้งสองลำ แต่ยานวอยเอจเจอร์ทัั้งสองลำกลับได้แรงส่งจากจากบินเฉียดดาวเคราะห์หลายดวง ซึ่งทำให้ความเร็วจากศูนย์กลางดวงอาทิตย์ (heliocentric velocity) เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่ยาน ''นิวฮอไรซันส์'' กลับได้แรงส่งจากการบินเฉียด[[ดาวพฤหัสบดี]]เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ในปี ค.ศ. 2019 ยาน ''นิวฮอไรซันส์'' เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 14 กิโลเมตรต่อวินาที ซึ่งช้ากว่ายาน วอยเอจเจอร์ 1 ไปประมาณ 3 กโลเมตรต่อวินาที และยังเคลื่อนที่ช้าลงเรื่อยๆ อีกด้วย<ref name="New_Horizons2006">{{cite web|url=http://pluto.jhuapl.edu/news_center/news/081706.php|title=New Horizons Salutes Voyager|date=August 17, 2006|publisher=New Horizons|accessdate=November 3, 2009|deadurl=yes|archiveurl=https://www.webcitation.org/5x3s4O3KH?url=http://pluto.jhuapl.edu/news_center/news/081706.php|archivedate=March 9, 2011|df=mdy-all}}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 2017 นาซาประกาศความสำเร็จในการติดเครื่องยนต์ไอพ่นควบคุมแนวโคจร (trajectory correction maneuver: TCM) ทั้งหมด 4 ตัวที่ติดตั้งบนยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ภายหลังมีการติดเครื่องยนต์ชุดนี้ครั้งแรกไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 เครื่องยนต์ชุดนี้สามารถใช้แทนเครื่องยนต์ที่ใช้ในการควบคุมตำแหน่งของจานสายอากาศที่เสื่อมสภาพไปนานแล้ว ซึ่งนั่นทำให้นาซายังสามารถรับส่งข้อมูลกับยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ต่อไปได้อีก 2 ถึง 3 ปี<ref>{{cite web|url=https://www.irishtimes.com/news/science/voyager-1-spacecraft-thrusters-fire-up-after-decades-idle-1.3315654|title=Voyager 1 spacecraft thrusters fire up after decades idle|date=December 4, 2017|publisher=[[The Irish Times]]}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.nasa.gov/feature/jpl/voyager-1-fires-up-thrusters-after-37|title=Voyager 1 Fires Up Thrusters After 37 Years|date=December 1, 2017|publisher=[[NASA]]}}</ref>
 
มีการปิดการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ติดตั้งบนยานเพื่อสงวนพลังงานไว้สำหรับอุปกรณ์ที่สำคัญอื่นๆ โดยเริ่มจากอุปกรณ์วัดทางวิทยาศาสตร์ที่ไม่จำเป็นหรือได้รับข้อมูลมากเพียงพอแล้ว ขณะนี้อุปกรณ์ที่ยังเปิดใช้งานอยู่จะใช้สำหรับการศึกษาคุณสมบัติของอวกาศระหว่างดาว รวมถึงอวกาศภายนอกระบบสุริยะ ซึ่งได้แก่ รังสีคอสมิก อนุภาคมีประจุพลังงานต่ำ สนามแม่เหล็ก และคลื่นพลาสมา<ref name=":0">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/status|title=Voyager - Mission Status|website=voyager.jpl.nasa.gov}}</ref>
 
ในอนาคตนาซามีแผนที่จะปิดการทำงานของเทปบันทึกดิจิตอล (DTR) ที่ใช้ในการสำรองข้อมูลในยานเมื่อรอส่งกลับมายังโลก เพื่อโอนถ่ายพลังงานไว้สำหรับระบบป้องกันเชื้อเพลิงไฮดราซีนจากการเยือกแข็ง นอกจากนี้จะหยุดการใช้งาน[[ไจโรสโคป]]ในการปฎิบัติภารกิจทั่วไป โดยมีการเขียนโปรแกรมให้ทำงานในกรณีที่มีข้อบกพร่องร้ายแรงเท่านั้น
 
ภายหลังปี ค.ศ. 2020 อุปกรณ์วัดทางวิทยาศาสตร์ทั้งหมดที่ติดตั้งบนยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เริ่มถูกปิดการทำงานทันที หรือมีการปิดการทำงานบางส่วน แล้วใช้พลังงานไฟฟ้าร่วมกันเท่าที่พลังงานไฟฟ้าที่หลงเหลืออยู่ ท้ายสุดยานจะยังคงสื่อสารกับโลกไปจนกว่าจะถึงปี ค.ศ. 2025 ที่คาดว่าจะไม่มีพลังงานไฟฟ้าหลงเหลือสำหรับยาน สุดท้ายยานจะขาดการติดต่อกับโลกไปตลอดกาลและโคจรไปในห้วงอวกาศโดยไร้การควบคุมใดๆ<ref name="NuclearNews" /><ref name=":0" />
 
== แผ่นจานทองคำ ==
{{บทความหลัก|แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์}}
[[ไฟล์:The Sounds of Earth - GPN-2000-001976.jpg|left|thumb|126x126px|<center>แผ่นจานทองคำ</center>|leftของยาน ''วอยเอจเจอร์'']]
[[ไฟล์:Voyager Golden Record greeting in Thai.ogg|thumb|คำทักทายเป็นภาษาไทยในแผ่นจากทองคำ นาทีที่ 00:00:25 โดยคุณรุจิรา เมนดิโอเนส]]
ยานวอยเอจเจอร์แต่ละลำบรรทุก[[แผ่นเสียง]]ที่เรียกว่า[[แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์|แผ่นจานทองคำ]] (Golden record) ซึ่งอัดบันทึกเสียงและภาพของเหตุการณ์ต่างๆ บนโลก ในกรณีที่ยานทั้งสองได้มีโอกาสพบกับสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาอื่นใน[[ดาวเคราะห์นอกระบบ|ระบบดาวเคราะห์แห่งอื่น]]<ref name="Ferris-201205">{{cite web|last=Ferris|first=Timothy|title=Timothy Ferris on Voyagers' Never-Ending Journey|url=https://www.smithsonianmag.com/science-nature/Timothy-Ferris-on-Voyagers-Never-Ending-Journey.html|date=May 2012|publisher=[[Smithsonian Magazine]]|accessdate=August 19, 2013}}</ref> เนื้อหาในแผ่นจานประกอบด้วยภาพของโลก สิ่งมีชีวิตบนโลก ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์หลากหลายสาขา คำพูดทักทายจากผู้คนเป็นภาษาต่างๆ มากถึง 55 ภาษา (เช่น จาก[[เลขาธิการสหประชาชาติ]] ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และเด็ก ๆ บนโลก รวมถึงภาษาไทย โดยภาษาไทยมีการบันทึกไว้ว่า "สวัสดีค่ะ สหายในธรณีโพ้น พวกเราในธรณีนี้ขอส่งมิตรจิตมา­ถึงท่านทุกคน") รวมถึงชุดเมดเล่ย์ "เสียงจากโลก" ที่ประกอบด้วยเสียงของ[[วาฬ]] เสียงเด็กร้อง เสียงคลื่นกระทบฝั่ง และบทเพลงของนักดนตรีศิลปินชื่อดังมากมาย<ref name="nasa.gold">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/spacecraft/goldenrec.html|title=Voyager Golden record|publisher=JPL|accessdate=August 18, 2013}}</ref>
 
 
== ดูเพิ่มเติม ==
[[ไฟล์:Interstellar probes trajectory.svg|thumb|ตำแหน่งตาม[[ระบบพิกัดทรงกลม]]ของยานสำรวจอวกาศทั้ง 5 ลำจากศูนย์กลางดวงอาทิตย์ในอวกาศระหว่างดวงดาว (สี่เหลี่ยม) และวัตถุอื่นๆ (วงกลม) จนถึงปี 2020 ระบุวันปล่อยยานและวันที่ทำการบินเฉียด จุดที่ระบุในภาพคือตำแหน่งทุกวันที่ 1 มกราคมของทุกปี และจะกำกับทุก 5 ปี]]
 
* [[:en:Interstellar_probe|ยานสำรวจอวกาศในอวกาศระหว่างดาว]]
* [[:en:List_of_artificial_objects_leaving_the_Solar_System|วัตถุสร้างโดยมนุษย์ที่กำลังออกจากระบบสุริยะ]]
* [[:en:List_of_missions_to_the_outer_planets|รายชื่อภารกิจสำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอก]]
* [[:en:Local_Interstellar_Cloud|หมู่เมฆระหว่างดาวระยะใกล้]]
*[[ดาวพฤหัสบดี#วงแหวน|วงแหวนของดาวพฤหัสบดี]]
*[[การสำรวจอวกาศ]]
*[[ยานสำรวจอวกาศ]]
*[[:en:Specific_orbital_energy#Voyager_1|พลังงานเฉพาะของวงโคจรของ ''วอยเอจเจอร์ 1'']]
*[[:en:Timeline_of_artificial_satellites_and_space_probes|เส้นเวลาของดาวเทียมและยานสำรวจอวกาศ]]
*[[วอยเอจเจอร์ 2]]
 
{{clear}}
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
เส้น 599 ⟶ 632:
* [http://descanso.jpl.nasa.gov/DPSummary/Descanso4--Voyager_new.pdf JPL Voyager Telecom Manual]
* [http://www.universetoday.com/81662/voyager-1-has-outdistanced-the-solar-wind Voyager 1 Has Outdistanced the Solar Wind]
 
 
{{ยานอวกาศศตวรรษ21}}