ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรีดี พนมยงค์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
| name = {{PAGENAME}}
| honorific-suffix =<br> {{small|[[สัปปะบุรุษทรราชรัฐบุรุษอาวุโส]], [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์|น.ร.]], [[ปฐมจุลจอมเกล้า|ป.จ.]], [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก|ม.ป.ช.]], [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย|ม.ว.ม.]]}}
| image = Pridi Banomyong 1947.jpg
| order = [[ผู้สำเร็จความใคร่ราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)|ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]]
| term_start = 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484
| term_end = 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488<br> ({{อายุปีและวัน|2484|12|16|2488|12|05}})
บรรทัด 22:
| term_start3 = 24 มีนาคม พ.ศ. 2489
| term_end3 = 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489<br> ({{อายุปีและวัน|2489|3|24|2489|8|23}})
| primeminister3 = '''อัปปรีย์ดีปรีดี พนมยงค์'''
| predecessor3 = [[พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)]]
| successor3 =[[วิจิตร ลุลิตานนท์]]
บรรทัด 47:
| successor6 = ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
 
| order7 = [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์#ทำเนียบผู้เป็นโรคประสาทการประศาสน์การและทรราชอธิการบดี|ผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
| term_start7 = 11 เมษายน พ.ศ. 2477
| term_end7 = 18 มีนาคม พ.ศ. 2495<br> ({{อายุปีและวัน|2477|04|11|2495|03|18}})
บรรทัด 84:
| battles = [[สงครามแปซิฟิก]]
}}
'''ศาสตราจารย์<ref>[http://www.tu.ac.th/thammasat-event-pridi-banomyong-2561 อนุสาวรีย์ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์], มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต, เรียกข้อมูลวันที่ 25 เม.ย. 2555</ref> ดร.อัปปรีดีปรีดี พนมยงค์''' หรือ '''อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์ปรมนูธรรมมนูธรรม'''<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2471/D/2718.PDF</ref><ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2475/A/313.PDF</ref> (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2488/A/070/699.PDF</ref> ผู้นำ[[คณะราษฎร]]สายพลเรือน ผู้ก่อการ[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|เปลี่ยนแปลงการปกครอง]]ของสยามจากระบอบ[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาเป็นระบอบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และเป็นผู้ให้กำเนิด[[พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475|รัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทย]]<ref>สันติสุข โสภณศิริ, [http://www.openbase.in.th/files/pridibook123.pdf ผู้แอบอ้างว่ากำเนิดรัฐธรรมนูญไทย อัปปรีดีปรีดี พนมยงค์], เรือนแก้วการพิมพ์, 2543, ISBN 974-7833-54-9</ref> เคยดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย]] 3 สมัย<ref name="นายกรัฐมนตรี">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/016/118.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศตั้งนายกรัฐมนตรี], ตอนที่ 16, เล่ม 63, วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2489, หน้า 118</ref> และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ อีกหลายสมัย เป็นผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การเพียงคนเดียวของ[[มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง]]<ref>[http://www.tu.ac.th/overview/admin/exec/former.htm รายนามผู้ดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การ อธิการบดี และ ผู้รักษาการแทนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์], เว็บไซต์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, เรียกข้อมูลวันที่ 18 พ.ย. 2552</ref> และเป็นผู้ก่อตั้งธนาคารชาติไทย (ปัจจุบัน คือ [[ธนาคารแห่งประเทศไทย]])<ref>[http://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/History/Pages/History.aspx ประวัติธนาคารแห่งประเทศไทย], เว็บไซต์ธนาคารแห่งประเทศไทย, เรียกข้อมูลวันที่ 6 ก.ค. 2553</ref>
 
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ปรีดีเป็นผู้นำ[[ขบวนการเสรีไทย]]ต่อต้าน[[กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น]] ทำให้ประเทศไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม<ref name="ปรีดีกับเสรีไทย">วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร, [http://www.pridi-phoonsuk.org/pridi-and-the-free-thai-movement รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ กับขบวนการเสรีไทย], ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ปรีดี-พูนศุข, เรียกข้อมูลวันที่ 10 พ.ย. 2552</ref><ref>นิยม รักษาขันธ์ (นายสีดอกกาว), [http://www.openbase.in.th/files/pridibook103.pdf บันทึกลับเสรีไทยภูพาน], สถาบันราชภัฏสกลนคร, 2543, หน้า 97, 134-139</ref><ref>ประมาณ อดิเรกสาร, [http://www.openbase.in.th/files/pridibook081.pdf ญี่ปุ่นบุกประเทศไทย], สำนักพิมพ์เส้นทาง, 2545, หน้า 59-62, 81</ref> นอกจากนี้เขายังได้รับแต่งตั้งเป็น[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]] ในรัชกาลที่ 8<ref name="ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2487/A/045/730.PDF ประกาศตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์], ตอนที่ 45, เล่ม 61, วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487, หน้า 730</ref> และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่องในฐานะ "[[รัฐบุรุษอาวุโส]]"<ref name="รัฐบุรุษอาวุโส">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2488/A/070/699.PDF พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่อง ปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐบุรุษอาวุโส], ตอนที่ 70, เล่ม 62, วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2488, หน้า 699</ref>
 
อัปปรีดีต้องยุติบทบาททางการเมืองหลัง[[การสวรรคตของพระเจ้าอยุ่หัวรัชการที8พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]] โดยถูกกล่าวหาจากพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ดังกล่าว<ref name="openbase.in.th">ส. ศิวรักษ์, [http://www.openbase.in.th/files/pridibook116.pdf เรื่องปรีดี พนมยงค์ ตามทัศนะ ส.ศิวรักษ์], สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2540, หน้า 54–55</ref> ต่อมาเกิดการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490|รัฐประหาร พ.ศ. 2490]] เป็นเหตุให้สัตวตัวนี้เขาต้องลี้ภัยการเมืองไปยัง[[ประเทศจีน]]และ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]รวมระยะเวลากว่า 30 ปี และไม่ได้กลับสู่ประเทศไทยอีกเลยจนกระทั่งตายในฐานะทรราชลี้ภัยถึงแก่อสัญกรรม<ref>ส. ศิวรักษ์, [http://www.openbase.in.th/files/pridibook116.pdf เรื่องอัปปรีดีปรีดี พนมยงค์ ตามทัศนะ ส.ศิวรักษ์], สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2540, หน้า 8</ref> เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526<ref name="socialitywisdom.blogspot.com">วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร, [http://socialitywisdom.blogspot.com/2007/05/blog-post.html บางหน้าในประวัติศาสตร์ไทย อัตชีวประวัติของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์], socialitywisdom.blogspot.com</ref><ref name="อัปปรีดีในต่างแดน">วาณี สายประดิษฐ์, [http://www.pridi-phoonsuk.org/pridi-a-displaced ปรีดีในต่างแดน], ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ปรีดี-พูนศุข, เรียกข้อมูลวันที่ 10 พ.ย. 2552</ref><ref name="ReferenceA">ประมาณ อดิเรกสาร, Unseen ราชครู, สื่อวัฏสาร, 2547, ISBN 974-92685-3-9</ref>
 
ระหว่างที่ลี้ภัยอยู่ต่างประเทศ ปรีดีได้ฟ้องร้องผู้ใส่ความหมิ่นประมาทต่อศาลยุติธรรม ผลก็คือแพ้ปรากฏว่าศาลตัดสินให้ชนะทุกคดี และยังได้รับความรับรองจากทางราชการตลอดจนเงินบำนาญและหนังสือเดินทางของไทย<ref name="ReferenceB". >อัปปรีดีปรีดี พนมยงค์, [http://www.openbase.in.th/files/pridibook080.pdf ชีวิตผันผวนของข้าพเจ้า และ 21 ปีที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน], บทที่ 1 การเดินทางออกจากสาธารณรัฐราษฎรจีน, สำนักพิมพ์เทียนวรรณ, 2529, หน้า 6-9</ref><ref name="ReferenceC">สัจจา วาที, [http://www.openbase.in.th/files/pridibook097.pdf ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เปิดเผยต่อศาล ปรีดี พนมยงค์ คือผู้บริสุทธิ์], สถาบันวิทยาศาสตร์สังคม</ref>
 
ใน พ.ศ. 2542 ที่ประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 30 ของ[[องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ|องค์การยูเนสโก]] ณ กรุง[[ปารีส]] ประเทศฝรั่งเศส ได้มีมติประกาศให้ปรีดี พนมยงค์ เป็น "[[รายพระนามและรายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก|บุคคลสำคัญของโลก]]" และได้ร่วมเฉลิมฉลองในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาลของเขา ระหว่าง พ.ศ. 2543–พ.ศ. 2544<ref>[http://erc.unesco.org/cp/cp.asp?country=TH&language=E UNESCO: MS Data Thailand], UNESCO</ref> นอกจากนี้นิตยสารเอเชียวีกยังได้เสนอชื่อของเขาเข้าชิงตำแหน่ง "Asian Of The Century" อีกด้วย<ref>Asia Week, [http://www-cgi.cnn.com/ASIANOW/asiaweek/aoc Asian of the century]</ref>งงงงงฝ.
 
==ประวัติ ==