ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูหลามปากเป็ด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8337703 สร้างโดย 171.100.252.234 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 31:
พบใน[[ประเทศไทย]]ตั้งแต่[[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]]ลงไป ตลอดจน[[มาเลเซีย]], [[สิงคโปร์]]จนถึง[[อินโดนีเซีย]] โดย[[holotype|สถานที่ค้นพบครั้งแรก]]อยู่ที่[[เกาะสุมาตรา]]<ref>McDiarmid RW, Campbell JA, Touré T. 1999. Snake Species of the World: A Taxonomic and Geographic Reference, vol. 1. Herpetologists' League. 511 pp. ISBN 1-893777-00-6 (series). ISBN 1-893777-01-4 (volume).</ref> เป็นงูที่ไม่ค่อยขึ้นต้นไม้ มักจะซุ่มรออาหารตามพื้นดินที่เฉอะแฉะใกล้แหล่งน้ำ<ref>[http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp ความหมายของคำว่า "ปากเป็ด" ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref> ที่โดยมากเป็น[[สัตว์เลือดอุ่น]]ขนาดเล็ก งูหลามปากเป็ดวางไข่ครั้งละประมาณ 30–50 ฟอง <ref>[http://www.2snake2fish.com/snake/python/blood-python.htm งูหลามปากเป็ด]</ref><ref name="Meh87"/>
 
แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย คือ ''P. c. curtus'' เป็นชนิดทั่วไป, ''[[Python curtus breitensteini|P. c. breitensteini]]'' พบใน[[บอร์เนียว]] และ ''[[Python curtus brongersmai|P. c. brongersmai]]'' พบใน[[แหลมมลายู|เพนนิซูล่า]]ของ[[มาเลเซีย]]และ[[สิงคโปร์]]<ref>{{ITIS |id=634783 |taxon=''Python curtus'' |accessdate=11 September 2007}}</ref> เป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]] นิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]ของผู้ที่นิยมสัตว์เลื้อยคลานเพราะมีความ[[สวย]]งาม<ref name="keogh">{{cite journal|doi=10.1111/j.1095-8312.2001.tb01350.x|last=Keogh|first=J. S.|coauthors=Barker, D. Shine, R.|year=2001|title=Heavily exploited but poorly known: systematics and biogeography of commercially harvested pythons (Python curtus group) in Southeast Asia (abstract)|pages=113|journal=Biological Journal of the Linnean Society|volume=73|issue=1|url=http://www3.interscience.wiley.com/journal/118995661/abstract}}</ref> ในบางข้อมูลจะให้ชนิดย่อยทั้ง 3 ชนิดนี้เป็นชนิดเดียวกันไปเลย
 
<br />
==รูปภาพ==
<gallery>