ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมีขอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Volunteer09 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการเชื่อมโยงที่มากเกินไป
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Volunteer09 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมข้อมูล
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 32:
'''หมีขอ''' หรือ '''บินตุรง''' หรือ '''หมีกระรอก''' ({{lang-en|Binturong, Bearcat}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Arctictis binturong}}; [[ภาษาอีสาน|อีสาน]]: เหง็นหางขอ, เหง็นหมี) เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]] แม้จะมีหน้าตาคล้าย[[หมี]]จนได้ชื่อว่าหมี แต่เป็นสัตว์จำพวก[[ชะมด|ชะมดและอีเห็น]] (Viverridae) ที่ใหญ่ที่สุด จัดเป็นสัตว์เพียง[[สปีชีส์|ชนิด]]เดียวใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''Arctictis'' ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์จนถึงปัจจุบัน
 
หมีขอมีหางยาวเป็นพวงคล้าย[[กระรอก]] ขนสีดำตามลำตัวซึ่งค่อนข้างยาวสีดำและหยาบ สีขนบริเวณหัวอาจมีสีเทา มีใบหูกลม บริเวณขอบหูมีสีขาว หมีขอมีหางที่ยาวเป็นพวงคล้าย[[กระรอก]] ซึ่งสามารถม้วนงอได้และสามารถใช้เกาะเกี่ยวต้นไม้ได้เป็นอย่างดี หมีขอมีความยาวลำตัวและหัว 61-96 เซนติเมตร ความยาวหาง 50-84 เซนติเมตร น้ำหนัก 10–20 กิโลกรัม
 
มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่[[ภูฐาน]], ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ[[อินเดีย]], ภาคตะวันตกของ[[พม่า]], [[ไทย]], [[ลาว]], [[กัมพูชา]], พรมแดนระหว่าง[[เวียดนาม]]ติดกับลาและกัมพูชา, [[มาเลเซีย]], [[เกาะสุมาตรา]], [[เกาะบอร์เนียว]]ใน[[อินโดนีเซีย]] และ[[Palawan|เกาะปาลาวัน]]ใน[[ฟิลิปปินส์]]
มีความยาวลำตัวและหัว 100–500 เซนติเมตร ความยาวหาง 50-84 เซนติเมตร น้ำหนัก 10–20 กิโลกรัม
 
มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่[[ภูฐาน]], ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ[[อินเดีย]]น ภาคตะวันตกของ[[พม่า]], [[ไทย]], [[ลาว]], [[กัมพูชา]], พรมแดนระหว่าง[[เวียดนาม]]ติดกับลาและกัมพูชา, [[มาเลเซีย]], [[เกาะสุมาตรา]], [[เกาะบอร์เนียว]]ใน[[อินโดนีเซีย]] และ[[Palawan|เกาะปาลาวัน]]ใน[[ฟิลิปปินส์]]
 
หมีขอเป็นสัตว์หากินในเวลา[[กลางคืน]] อาศัยและหากินตามลำพัง แต่ในบางครั้งอาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ประกอบไปด้วย แม่และลูก ในเวลากลางวันจะอาศัยโพรงไม้เป็นที่หลับนอน อาหารได้แก่ [[ผลไม้]]และ[[สัตว์]]ที่มีขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ บนต้นไม้ทั้ง[[แมลง]]และ[[สัตว์เลื้อยคลาน]] ปีนต้นไม้ได้เก่งมาก โดยใช้หางที่ยาวเกาะเกี่ยวกิ่งไม้จากต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่ง นอกจากนี้ยังสามารถ[[ว่ายน้ำ]]ได้อีกด้วย มีการผสมพันธุ์กันได้ตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องนาน 92 วัน ออกลูกครั้งละ 1–3 ตัว หมีขอตัวเมียจะมีเต้านมทั้งหมด 2 คู่ ลูกที่เกิดใหม่จะยังไม่สามารถใช้หางเกี่ยวกิ่งไม้ได้ชเหมือนตัวพ่อแม่ <ref>หน้า 87-88 ''สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน''. 256 หน้า โดย กองทุนสัตว์ป่าโลก สำนักงานประเทศไทย (กรุงเทพมหานคร, 2543) ISBN 974-87081-5-2</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/หมีขอ"