ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบังคับบุคคลให้สูญหาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
โดยปรกติแล้วเป็นที่เข้าใจได้ว่า บุคคลที่ถูกบังคับให้สูญหายจะถูกฆ่าทิ้ง เพราะบ่อยครั้งที่ผู้เสียหายในกรณีเช่นนั้นถูกลักพา หน่วงเหนี่ยวไว้โดยมิชอบด้วยกฎหมาย ทรมานระหว่างการรีดเอาข้อมูล ฆ่าปิดปาก แล้วเอาศพไปซ่อน อนึ่ง แน่นอนว่า การฆ่าดังกล่าวย่อมกระทำโดยซ่อนเร้น ส่วนศพก็มักถูกกำจัดเพื่อมิให้ถูกพบ พยานหลักฐานสำหรับพิสูจน์เกี่ยวกับความตายจึงมักได้มายากเย็น ผู้กระทำจึงสามารถบอกปัดได้ และผู้เสียหายจึงสาบสูญไปในที่สุด กรณีเช่นนี้ ภาษาปากเรียก '''การอุ้มฆ่า'''
 
รัฐบาลไทยได้ให้สัญญากับคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติเมื่อ พ.ศ. 2555 ว่าจะดำเนินการออกกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองมิให้บุคคลสูญหาย แต่ยังไม่มีการออกกฎหมายดังกล่าวแต่อย่างใด<ref>Phasuk, S. (2019). การไม่ปฏิบัติตามคำสัญญาของประเทศไทยที่จะยุติ ‘การสูญหายของบุคคล’. Retrieved from https://www.hrw.org/th/news/2018/08/29/321955</ref>
== อ้างอิง ==
{{reflist}}