ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าแก้วนวรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ผช. นวนนท์ (คุย | ส่วนร่วม)
การใช้คำราชาศัพท์เฉพาะเจ้าผู้ครองนครประเทศราช
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8337201 สร้างโดย ผช. นวนนท์ (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 3:
| birth_style= ประสูติ
| birth_date = 29 กันยายน พ.ศ. 2405
| death_style = วันสุรคตพิราลัย
| death_date = {{วันสุรคตตายและอายุ|2482|6|3|2405|9|29|ชันษา}}
| succession = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่|เจ้านครเชียงใหม่]]
| father1 = [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]]
เส้น 43 ⟶ 44:
 
=== บั้นปลายชีวิต ===
เจ้าแก้วนวรัฐ เริ่มประชวรตั้งแต่ต้นปี [[พ.ศ. 2481]] แม้ว่าจะมีพระอาการประชวรแต่ก็ยังเสด็จไปยังกรุงเทพมหานคร เพื่อรับเสด็จ[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร|สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] เมื่อครั้งเสด็จนิวัติพระนคร ต่อมาปรากฏว่าอาการพระวักกะและพระยกนะอักเสบที่ประชวรอยู่ยังไม่ทันจะหายดี ก็พบอาการพระปัปผาสะบวมขึ้นอีก จนสุรคต เมื่อเวลา 21.40 น. ของวันที่ [[3 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]] รวมระยะเวลาที่ทรงครองนคร 28 ปี สิริพระชนมายุชันษา 76 พรรษาปี
 
ครั้นข่าวการสุรคตแพร่ออกไป บรรดาบุคคลสำคัญก็ได้มีโทรเลขและจดหมายถวายความอาลัยมาเป็นจำนวนมาก เช่น คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ส่งมาถวาย[[เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)|เจ้าราชบุตร]] ดังความว่า{{คำพูด|เจ้าราชบุตร<br>
เส้น 131 ⟶ 132:
|valign="top"| [[ไฟล์:เจ้าวงศ์ตวัน.jpg|120px]]
|valign="top" | เจ้าราชบุตร
|valign="top" | 3. '''[[เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวันวงษ์ตะวัน ณ เชียงใหม่)]]'''
|valign="top" | [[เจ้าจามรีวงศ์]]
|valign="top" | 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2429
เส้น 138 ⟶ 139:
# สมรสกับ [[เจ้าจันทร ณ เชียงใหม่]] มีธิดา 1 องค์
#* [[เจ้าวงศ์จันทร์ คชเสนี]]
# สมรสกับ [[เจ้าภัทรา ณ เชียงใหม่]] มีธิดา 2 องค์
#* [[เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน]]
#* [[เจ้าระวีพันธ์ สุจริตกุล]]
# สมรสกับ [[หม่อมศรีนวล ณ เชียงใหม่]] ไม่มีโอรส-ธิดา
|-
|valign="top"| [[ไฟล์:เจ้าพงษ์อินทร์.jpg|120px]]
เส้น 150 ⟶ 151:
|valign="top" | พ.ศ. 2532 (85 ปี)
|valign="top" |
# สมรสกับ [[หม่อมตระการ ณ เชียงใหม่]] มีธิดา 1 องค์
#* เจ้าประไพพันธ์ สุขุมวาท
# สมรสกับ [[หม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่]] มีโอรส-ธิดา 4 องค์
#* [[เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่]]
#* [[เจ้าสมพงษ์ ณ เชียงใหม่]]
เส้น 164 ⟶ 165:
|valign="top" | 23 ธันวาคม พ.ศ. 2444
|valign="top" | 25 มกราคม พ.ศ. 2482 (37 ปี)
|valign="top" | สมรสกับ [[เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่]] มีโอรส-ธิดา 3 องค์
* [[เจ้าพงษ์กาวิล ณ เชียงใหม่]]
* [[เจ้าศิริกาวิล สิงหรา ณ อยุธยา]]
เส้น 175 ⟶ 176:
|valign="top" | พ.ศ. 2453
|valign="top" | พ.ศ. 2534 (81 ปี)
|valign="top" | สมรสกับ [[เจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง]] มีโอรส-ธิดา 5 องค์
* เจ้ารัตนนินดนัย ณ เชียงใหม่
* เจ้าวิไลวรรณ ณ เชียงใหม่
เส้น 186 ⟶ 187:
== พระกรณียกิจสำคัญ ==
{{เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร}}
เจ้าแก้วนวรัฐ เริ่มเข้ารับราชการเมื่อ [[พ.ศ. 2420]] ขณะมีพระชันษาได้ 15 ปี ในสมัยที่พระบิดาของท่าน คือ พระเจ้าอินทวิชยานนท์ได้เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 7 ซึ่งมีสิทธิ์ในการปกครองอย่างเจ้าประเทศราชที่ต้องถวายต้นไม้เงินต้นไม้ทองเป็นเครื่องราชบรรณาการทุก 3 ปี
[[ไฟล์:คุ้มเจ้าแก้วนวรัฐ.jpg|thumb|300px|[[คุ้มเจดีย์กิ่ว ริมแม่น้ำปิง|คุ้มหลวง เจ้าแก้วนวรัฐ]]]]
ผลงานที่สำคัญ ได้แก่
 
=== การปกครอง ===
* [[พ.ศ. 2420]] พระเจ้าอินทวิชยานนท์ โปรดให้คุมราษฎรจังหวัดเชียงใหม่-ลำพูน ประมาณ 300 ครัวเรือน ขึ้นไปตั้งภูมิลำเนาที่เมือง[[เชียงแสน]]ซึ่งเป็นเมืองร้าง<ref name="อดีตลานนา">บุญเสริม ศาสตราภัย และสังคีต จันทนะโพธิ. (2520) '''อดีตลานนา''' กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์</ref>
* [[พ.ศ. 2429]] พระเจ้าอินทวิชยานนท์ โปรดให้เป็นผู้แทนพระองค์ควบคุม[[เครื่องราชบรรณาการ]]และ[[ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง]] ไปทูลเกล้าถวายแด่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ กรุงเทพฯ
* [[พ.ศ. 2433]] ปราบกบฏพญาผาบ<ref name="อดีตลานนา"/> นายแคว้นสันทรายที่ก่อกบฏขึ้น โดยรวบรวมชาวบ้านติดอาวุธโดยว่าจะเข้ามาฆ่านายอากรชาวจีนและข้าราชการชาวไทย อันเนื่องมาจากไม่พอใจที่ราษฏรถูกขูดรีดเรื่องภาษีจนถึงขั้นทำร้ายราษฏร
* [[พ.ศ. 2445]] ทรงนำกำลังจับกุมผู้ร้ายปล้นที่ว่าการอำเภอหางดง และระงับเหตุ[[เงี้ยว]]เมืองฝางก่อจลาจล
* [[พ.ศ. 2453]] รั้งตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ และได้เดินทางไปร่วมในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
* พ.ศ. 2469 เจ้าแก้วนวรัฐ ทรงนำเสด็จ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 7 ครั้งเสด็จเลียบมณฑลฝ่ายเหนือ
 
=== การพลังงาน ===
* [[พ.ศ. 2464]] ดำริให้มีการขุดบ่อกักเก็บน้ำมันที่อำเภอฝาง และเป็นจุดเริ่มต้นของการถือกำเนิด[[บ่อน้ำมันฝาง]]<ref>[npdc.mod.go.th/เรองเลาเมอวนวาน/ความเปนมาของกจการนำมนฝาง.aspx ความเป็นมาของบ่อน้ำมันฝาง]</ref>
 
=== การสาธารณสุข ===
เส้น 205 ⟶ 206:
 
=== การคมนาคม ===
* [[พ.ศ. 2476]] เป็นนายกองสร้างถนนหลายสาย เพื่อเชื่อมการคมนาคมอำเภอรอบนอกกับในเมือง ถนนสายสำคัญที่ท่านมีส่วนร่วม ได้แก่ ถนนสายสันทราย-ดอยสะเก็ด ปัจจุบันเรียก [[ถนนแก้วนวรัฐ]] ถนนสายขึ้นดอยสุเทพร่วมกับ[[ครูบาศรีวิชัย]] ซึ่งท่านเป็นประธานฝ่ายคฤหัสถ์ และเป็นผู้ขุดเป็นปฐมฤกษ์<ref name="อดีตลานนา"/> เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477
* [[พ.ศ. 2464]] ทรงสร้าง[[สะพานนวรัฐ]] ขึ้นเป็นสะพานไม้เพื่อเชื่อมสองฝั่งแม่น้ำปิง
 
=== การศาสนา ===
เส้น 266 ⟶ 267:
| 14=
| 15=
| 16= [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี สิงหาราชธานีเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
| 17= แม่เจ้าจันทาราชเทวี
| 18= เจ้าฟ้าเมืองยางแดง
เส้น 306 ⟶ 307:
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]
| ปี = 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482
| ถัดไป = ยกเลิกตำแหน่ง <br> <small> ''ผู้สืบตระกูล: [[เจ้าราชบุตร (วงษ์ตวันตะวัน ณ เชียงใหม่)]]''</small>
}}
{{จบกล่อง}}