ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox spaceflight|name=''วอยเอจเจอร์ 1''|image=Voyager_spacecraft.jpg|image_caption=ภาพจำลองของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1''|image_alt=|mission_type=การสำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอก เฮลิโอสเฟียร์ และมวลสารระหว่างดาวฤกษ์ดวงดาว|operator=[[ไฟล์:NASA logo.svg|20px]] [[นาซา]] / [https://en.wikipedia.org/wiki/Jet_Propulsion_Laboratory&#124; ศูนย์ปฏิบัติการเครื่องยนต์ไอพ่น] (JPL)|website={{url|https://voyager.jpl.nasa.gov/}}|COSPAR_ID=1977-084A<ref name="nasa.084A">{{cite web | url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | title=Voyager 1 | publisher=NASA/NSSDC | work=NSSDC Master Catalog | accessdate=August 21, 2013 | archive-url=https://web.archive.org/web/20131214045307/http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | archive-date=December 14, 2013 | dead-url=yes | df=mdy-all }}</ref>|SATCAT=10321<ref name="n2yo.10321">{{cite web | url=https://www.n2yo.com/satellite/?s=10321 | title=Voyager 1 | publisher=N2YO | accessdate=August 21, 2013}}</ref>|mission_duration={{plainlist|
*{{Age in years, months and days| year=1977| month=09| day=05}}
*<small>สำรวจดาวเคราะห์: 3 ปี 3 เดือน 9 วัน
บรรทัด 20:
| distance = {{convert|6490|km|mi|abbr=on}}
| arrival_date = 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980
}}|programme=ยานสำรวจอวกาศที่สำคัญ|previous_mission=''[[วอยเอจเจอร์ 2]]''|next_mission=''[[กาลิเลโอ (ยานอวกาศ)|กาลิเลโอ]]''}}{{ใช้ปีคศ}}'''''วอยเอจเจอร์ 1''''' ({{lang-en|''Voyager 1''}}) เป็น[[ยานสำรวจอวกาศ]]แบบไร้คนขับซึ่งองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ[[สหรัฐ]]หรือองค์การ[[นาซา]] (The National Aeronautics and Space Administration: NASA) ได้ทำการปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977 ซึ่งเป็นเวลา 16 วันหลังการปล่อยยานฝาแฝด ''[[วอยเอจเจอร์ 2]]'' ({{lang-en|''Voyager 2''}}) ภายใต้[[โครงการวอยเอจเจอร์]] ปัจจุบันยานสำรวจปฏิบัติงานอยู่ในอวกาศเป็นเวลานานถึง {{Age in years, months and days|year=1977|month=09|day=05}} ซึ่งยังคงสื่อสารกับ[[โลก]]ผ่านทาง[[เครือข่ายอวกาศสื่อสารข้อมูลห้วงลึก|เครือข่ายสื่อสารอวกาศห้วงลึก]] (Deep Space Network: DSN) เพื่อรับคำสั่งประจำและส่งข้อมูลกลับมา ด้วยระยะห่างของยานสำรวจที่อยู่ห่างจากโลกราว 145 [[หน่วยดาราศาสตร์]] (21.7 พันล้านกิโลเมตร, 13.5 พันล้านไมล์) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 2019<ref name="voyager">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/status/|title=Voyager - Mission Status|last=|first=|date=|work=Jet Propulsion Laboratory|publisher=National Aeronautics and Space Administration|archive-url=|archive-date=|dead-url=|accessdate=February 16, 2019}}</ref> จึงถือได้ว่าเป็นวัตถุที่สร้างโดยมนุษย์ที่อยู่ไกลจาก[[โลก]]มากที่สุด<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|title=Voyager 1|work=[[BBC]] Solar System|accessdate=4 September 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180203195855/http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|archive-date=February 3, 2018|dead-url=yes|df=mdy-all}}</ref>
 
ภารกิจของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' คือการบินเฉียด (flyby) [[ดาวพฤหัสบดี]] [[ดาวเสาร์]] และ[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ดวงจันทร์ไททัน]]ซึ่งเป็น ดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ เดิมทีแล้วมีการวางเส้นทางแนวโคจรของยานเพื่อบินเฉียด[[ดาวพลูโต]]โดยการไม่บินเฉียดดวงจันทร์ไททัน แต่ภายหลังมีการเปลี่ยนเป็นการบินเฉียดดวงจันทร์ไททันแทน เนื่องจากต้องการศึกษาชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น ซึ่งเป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์มากในขณะนั้น<ref name="faq3">{{cite web|url=https://www.jpl.nasa.gov/voyager/frequently-asked-questions/|title=Voyager – Frequently Asked Questions|publisher=NASA|date=February 14, 1990|accessdate=August 4, 2017}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.nasaspaceflight.com/2015/07/new-horizons-pluto-historic-kuiper-encounter/|title=New Horizons conducts flyby of Pluto in historic Kuiper Belt encounter|accessdate=September 2, 2015}}</ref><ref name="SD3">{{cite web|url=http://www.spacedaily.com/reports/What_If_Voyager_Had_Explored_Pluto_999.html|title=What If Voyager Had Explored Pluto?|accessdate=September 2, 2015}}</ref> ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ทำการสำรวจสภาพอากาศ สภาพสนามแม่เหล็ก และวงแหวนของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ นอกจากนี้ยังเป็นยานสำรวจลำแรกที่ได้ถ่ายภาพเผยรายละเอียดดาวบริวารของดาวฤกษ์ดาวเคราะห์เหล่านี้อีกด้วย
 
ภายหลังเสร็จสิ้นภารกิจหลักในการบินเฉียดดาวเสาร์เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ถือเป็นวัตถุสร้างโดยมนุษย์ชิ้นที่ 3 (จากทั้งหมด 5 ชิ้น) ที่โคจรด้วยความเร็วมากพอจนถึงระดับ[[ความเร็วหลุดพ้น]]จาก[[ระบบสุริยะ]] นอกจากนี้ในวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2012 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ยังเป็นยานอวกาศลำแรกที่ได้ข้ามผ่านอวกาศชั้น[[เฮลิโอพอส]] (heliopause) และเข้าสู่อวกาศชั้น[[มวลสารระหว่างดาว]] (Interstellar Medium)<ref name="NYT-20130912">{{cite news|last=Barnes|first=Brooks|title=In a Breathtaking First, NASA Craft Exits the Solar System|url=https://www.nytimes.com/2013/09/13/science/in-a-breathtaking-first-nasa-craft-exits-the-solar-system.html|date=September 12, 2013|work=[[New York Times]]|accessdate=September 12, 2013}}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 2017 ทีมงานของวอยเอจเจอร์ประสบความสำเร็จในการทดลองจุดชุดเครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้ในการควบคุมแนวโคจร (Trajectory Correction Maneuver: TCM) ซึ่งไม่มีการใช้งานมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 ส่งผลให้สามารถขยายเวลาทำภารกิจของยานไปได้อีกสองถึงสามปี<ref name="Backup thrusters test2">{{cite news|last=Wall|first=Mike|title=Voyager 1 Just Fired Up its Backup Thrusters for the 1st Time in 37 Years|url=https://www.space.com/38967-voyager-1-fires-backup-thrusters-after-37-years.html|accessdate=December 3, 2017|publisher=Space.com|date=December 1, 2017}}</ref>
 
มีการประมาณการว่ายานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' จะยังสามารถทำภารกิจต่อไปได้จนถึงปี ค.ศ. 2025 หรือจนกว่า[[เครื่องกำเนิดไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี (Radioisotope Thermoelectric Generator: RTG) ]]จะจ่ายไฟได้ไม่เพียงพอความต้องการของอุปกรณ์ภายในยาน หลังจากนั้นยานจะโคจรเป็นวัตถุเร่ร่อนในอวกาศ
 
== เบื้องหลังภารกิจ ==
 
=== ประวัติ ===
ในปี ค.ศ. 1964 นาซาได้เสนอแนวคิด[[โครงการแกรนด์ทัวร์ (Grand Tour) ]]ซึ่งมีเป้าหมายในการส่งยานสำรวจเพื่อทำการศึกษาดาวเคราะห์ภายนอกระบบสุริยะ และเริ่มดำเนินงานโครงการในตอนต้นยุค ค.ศ. 1970<ref name="NASA.1960">{{cite web|url=http://voyager.jpl.nasa.gov/mission/index.html|title=1960s|publisher=JPL|accessdate=August 18, 2013|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20121208070306/http://voyager.jpl.nasa.gov/mission/index.html|archivedate=December 8, 2012|df=mdy-all}}</ref> ข้อมูลที่ได้รับจากยานสำรวจ ''[[ไพโอเนียร์ 10]]'' ยังช่วยให้ทีมวิศวกรของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์'' สามารถออกแบบยานสำรวจเพื่อรับมือกับระดับกัมมันตรังสีที่รุนแรงของดาวพฤหัสบดีได้อีกด้วย<ref name="rad">{{cite web|title=The Pioneer missions|date=2007|publisher=NASA|url=https://www.nasa.gov/centers/ames/missions/archive/pioneer.html|accessdate=August 19, 2013}}</ref>
 
ก่อนจะมาเป็นเดิมทียานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ก็คือยานสำรวจนี้เคย "''มาริเนอร์ 11''" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[โครงการมาริเนอร์ (Mariner) ]]มาก่อน ภายหลังการปล่อยยานสำรวจ ''มาริเนอร์ 10'' งบประมาณของโครงการถูกจำกัดลง ทำให้เป้าหมายของภารกิจจึงเน้นไปที่การสำรวจดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์เป็นหลัก ตัวยานถูกเปลี่ยนชื่อเป็น มาริเนอร์ จูปิเตอร์-แซทเทิร์น (Mariner Jupiter-Saturn) แต่ภายหลังการดำเนินโครงการได้ระยะหนึ่ง มีการเปลี่ยนชื่อยานสำรวจอีกครั้งเป็น ''วอยเอจเจอร์ 1'' เนื่องด้วยตัวยานได้ถูกออกแบบมาเพื่อทำภารกิจที่ยิ่งใหญ่กว่าโครงการมาริเนอร์<ref name="goo.win">{{cite book|chapter-url=https://books.google.com/books?id=0j-4d73jQFEC&pg=PA251|page=251|chapter=Chapter 11|title=From engineering science to big science: The NACA and NASA Collier Trophy research project winners|isbn=978-0-16-049640-0|last=Mack|first=Pamela|work=History Office|year=1998}}</ref>{{ใช้ปีคศ}}
=== ส่วนประกอบของยานฯ ===
[[ไฟล์:Voyager_Program_-_High-gain_antenna_diagram.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager_Program_-_High-gain_antenna_diagram.png|left|thumb|169x169px|จานสื่อสารเกณฑ์ขยายสูงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.7 เมตร หรือ 12 ฟุต]]
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ถูกสร้างขึ้นโดย[[ศูนย์ปฏิบัติการเครื่องยนต์ไอพ่น]] (Jet Propulsion Laboratory: JPL)<ref name="Landau CNN">{{cite news|last=Landau|first=Elizabeth|title=Voyager 1 becomes first human-made object to leave solar system|work=CNN|publisher=CNN|date=October 2, 2013|url=https://www.cnn.com/2013/09/12/tech/innovation/voyager-solar-system/|accessdate=May 29, 2014}}</ref><ref>{{cite web|url=https://tools.wmflabs.org/makeref/|title=NASA Spacecraft Embarks on Historic Journey into Interstellar Space|work=NASA|date=September 12, 2013|accessdate=May 29, 2014|quote=NASA's Voyager 1 spacecraft officially is the first human-made object to venture into interstellar space.}}</ref><ref name="Trailblazer">{{cite web|url=https://www.nasa.gov/mission_pages/viking/viking30_fs.html|title=Viking: Trailblazer for All Mars Research|work=NASA|date=June 22, 2006|accessdate=May 29, 2014|quote=All of these missions relied on Viking technologies. As it did for the [[Viking program]] team in 1976, Mars continues to hold a special fascination. Thanks to the dedication of men and women working at NASA centers across the country, the mysterious Mars of our past is becoming a much more familiar place.}}</ref> ตัวยานขับเคลื่อนโดยเครื่องยนต์[[ไฮดราซีน]] 16 ตัว มี[[ไจโรสโคป]]รักษาตำแหน่งแบบ 3 แกน (three-axis stabilization gyroscopes) และระบบควบคุมยานที่คอยรักษาทิศทางของเสาวิทยุบนยานให้ชี้มายังโลก อุปกรณ์เหล่านี้จะเรียกรวมว่าเป็นระบบควบคุมตำแหน่งและเส้นทางแนวโคจร (Attitude and Articulation Control Subsystem: AACS) มาพร้อมกับระบบควบคุมสำรอง และเครื่องยนต์ไอพ่นสำรองอีก 8 ตัว นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ตรวจวัดทางวิทยาศาสตร์รวมกว่า 11 ชิ้นเพื่อใช้ทำการศึกษาเหล่า[[ดาวเคราะห์]]ที่ยานโคจรเข้าใกล้<ref name="PDS-Host3">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/spacecraft/|title=VOYAGER 1:Host Information|date=1989|publisher=JPL|accessdate=April 29, 2015}}</ref>
 
==== ระบบสื่อสาร ====
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ใช้ระบบการสื่อสารผ่านคลื่นวิทยุย่านความถี่สูงซึ่งออกแบบให้สามารถสื่อสารได้ไกลถึงนอก[[ระบบสุริยะ]] ตัวยานประกอบไปด้วยจานสายอากาศทรง[[พาราโบลา]] แบบแคสซิเกรน (Cassegrain) ซึ่งมีเกณฑ์ขยายสูง ขนาด[[เส้นผ่านศูนย์ศูนย์กลาง]] 3.7 เมตร (12 ฟุต) ส่งสัญญาณมายังโลกและรับสัญญาณ[[คลื่นวิทยุ]]ผ่าน[[เครือข่ายอวกาศห้วงลึก|เครือข่ายสื่อสารอวกาศห้วงลึก]] (DSN) ที่มีสถานีฐานกระจายอยู่ทั่วพื้นโลก<ref name="nasa.hga2">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/spacecraft/instruments_hga.html|title=High Gain Antenna|publisher=JPL|accessdate=August 18, 2013}}</ref> ปกติแล้วยานจะส่งสัญญาณผ่านทางช่องสัญญาณ์ 18 โดยใช้ย่านความถี่ 2.3&nbsp;[[จิกะ]][[เฮิรตซ์]] หรือ 8.4&nbsp;จิกะเฮิรตซ์ ในขณะที่การส่งสัญญาณจากโลกไปหาตัวยานจะทำผ่านย่านความถี่ 2.1&nbsp;จิกะเฮิรตซ์ <ref name="nasa.tele2">{{cite web|last=Ludwig|first=Roger|last2=Taylor|first2=Jim|title=Voyager Telecommunications|work=DESCANSO Design and Performance Summary Series|publisher=NASA/JPL|date=March 2002|url=https://descanso.jpl.nasa.gov/DPSummary/Descanso4--Voyager_new.pdf|accessdate=September 16, 2013}}</ref>
 
ในช่วงที่ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ไม่สามารถส่งข้อมูลมายังโลกโดยตรงได้ ข้อมูลทั้งหมดจะถูกบันทึกลง[[เทป (สื่อบันทึกเสียง)|เทป]]บันทึกระบบดิจิตอล (DTR) ซึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้สูงสุด 64 กิโลไบต์ เพื่อรอการส่งกลับมายังโลกในครั้งถัดไป<ref name="nasa.77.136">{{cite web|title=NASA News Press Kit 77–136|publisher=JPL/NASA|url=http://forum.nasaspaceflight.com/index.php?action=dlattach;topic=9476.0;attach=591860|accessdate=December 15, 2014}}</ref> โดยใช้เวลาประมาณ 1620 ชั่วโมงในการส่งสัญญาณจากยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' กลับมายังโลก<ref name="voyager" />
 
==== แหล่งพลังงาน ====
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ใช้พลังงานไฟฟ้าจาก[[เครื่องกำเนิดไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี]] หรือ อาร์ทีจี ([[Radioisotope thermoelectric generator|Radioisotope Thermoelectric Generator]]: RTG) รวม 3 เครื่อง ติดตั้งในลักษณะเป็นส่วนแขนยื่นออกจากตัวยาน เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแต่ละเครื่องประกอบไปด้วยลูกบอลอัดเชื้อเพลิงพลูโตเนียม-238 (<sup>238</sup>Pu) ในรูปของพลูโตเนียมออกไซด์ (PuO<sub>2</sub>) ทั้งหมด 24 ลูก<ref name="NuclearNews">{{cite journal|last=Furlong|first=Richard R.|last2=Wahlquist|first2=Earl J.|date=1999|title=U.S. space missions using radioisotope power systems|journal=Nuclear News|volume=42|issue=4|pages=26–34|url=http://www2.ans.org/pubs/magazines/nn/pdfs/1999-4-2.pdf|format=PDF}}</ref> กำลังไฟฟ้าวัดได้รวม 470 วัตต์ ณ วันที่ทำการปล่อยยาน<ref name="nasa.life">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/spacecraft/spacecraftlife.html|title=Spacecraft Lifetime|publisher=JPL|accessdate=August 19, 2013}}</ref> โดยพลังงานไฟฟ้าที่ได้จะลดลงเมื่อเวลาผ่านไป อันเป็นผลจากการสลายตัวของพลูโตเนียม-238 ที่มีค่า[[ครึ่งชีวิต]]อยู่ที่ 87.7 ปี รวมถึงการเสื่อมสภาพของชุดเทอร์โมคัปเปิล (thermocouples) อย่างไรก็ตามเครื่องกำเนิดไฟฟ้าอาร์ทีจีจะยังคงจ่ายพลังงานให้กับตัวยานได้อย่างเพียงพอต่อไปจนถึงปี ค.ศ. 2025<ref name="PDS-Host3" /><ref name="NuclearNews" /><gallery class="center" widths="170" heights="180">
ไฟล์:Voyager Program - RTG diagram 1.png|ผังแท่งเก็บเชื้อเพลิงของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าอาร์ทีจี แสดงลูกบอลเชื้อเพลิงพลูโตเนียม-238 ออกไซด์
ไฟล์:Voyager Program - RTG diagram 2.png|ผังชั้นโครงสร้างของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าอาร์ทีจี แสดงชุดเทอร์โมคัปเปิลทำจาก[[ซิลิคอน]]-[[เจอมาเนียม]]
บรรทัด 53:
 
==== ระบบคอมพิวเตอร์ ====
แทบทุกส่วนของตัวยานสำรวจทำงานโดยอัตโนมัติผ่านการควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ยกเว้นระบบถ่ายภาพ[[แสง|แสงที่มองเห็นได้ (visible light) ]]ซึ่งเป็นเพียงระบบเดียวที่ไม่ได้ทำงานแบบอัตโนมัติ แต่จะถูกควบคุมโดยชุดค่าพารามิเตอร์ใน[[คอมพิวเตอร์]]ระบบย่อยข้อมูลการบิน (Flight Data Subsystem: FDS) ต่างจากกล้องถ่ายภาพในยานสำรวจยุคหลังจากปี ค.ศ. 1990 ที่เปลี่ยนมาใช้ระบบควบคุมแบบอัตโนมัติทั้งหมดแล้ว<ref>{{cite web|url=https://pds-rings.seti.org/voyager/iss/inst_cat_wa1.html|title=pds-rings|accessdate=May 23, 2015}}</ref>
 
ระบบย่อยคอมพิวเตอร์สั่งการ (Computer Command Subsystem: CCS) ประกอบไปด้วยชุดคำสั่งแบบสำเร็จ เช่น ชุดคำสั่งถอดรหัส ชุดคำสั่งตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่อง ชุดคำสั่งควบคุมทิศทางของเสาอากาศ และชุดคำสั่งควบคุมตำแหน่งยาน คอมพิวเตอร์ส่วนนี้เป็นส่วนที่พัฒนามาจากคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในยานโครงการไวกิ้ง (Viking Program) ช่วงยุค ค.ศ. 1970 ฮาร์ดแวร์แบบปรับแต่งเอง (custom-built) ที่ใช้สำหรับระบบย่อยคอมพิวเตอร์สั่งการของยานสำรวจทั้งสองลำในโครงการ ''โวเอจเจอร์'' จะเหมือนทุกประการ มีเพียงการปรับแต่งโปรแกรมเล็กน้อยเพราะมีระบบย่อยทางวิทยาศาสตร์ที่ยานอีกลำไม่มี<ref name="nasa.ch6-2">{{cite web|last=Tomayko|first=James|publisher=NASA|date=April 1987|url=https://history.nasa.gov/computers/Ch6-2.html|title=Computers in Spaceflight: The NASA Experience|accessdate=February 6, 2010}}</ref>
 
ระบบย่อยควบคุมตำแหน่งและเส้นทางแนวโคจร (Attitude and Articulation Control Subsystem: AACS) เป็นระบบที่ใช้ในการควบคุมตำแหน่งและทิศทางของตัวยาน คอยควบคุมองศาของเสาอากาศยานให้ชี้มายังโลก ควบคุมการเปลี่ยนตำแหน่ง และบังคับทิศทางของยานเพื่อทำการถ่ายภาพวัตถุและพื้นผิว ระบบย่อยนี้สำหรับยานสำรวจในโครงการ ''โวเอจเจอร์'' จะเหมือนทุกประการ<ref>{{cite web|url=http://www.au.af.mil/au/awc/awcgate/jplbasic/bsf11-2.htm|title=au.af|accessdate=May 23, 2015}}</ref><ref>{{cite web|url=https://airandspace.si.edu/collections/artifact.cfm?object=nasm_A19990066000|title=airandspace|accessdate=May 23, 2015}}</ref>
 
==== เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์ ====
บรรทัด 224:
<!-- Diagram image -->
<!-- {{Css Image Crop |Image= |bSize= 160px |cWidth= 50 |cHeight= 80 |oTop= 0 |oLeft= 0 |Location= Center}} -->
| style="text-align:left;" | ทำการสำรวจดุลพลังงาน (energy balance) และองค์ประกอบของชั้นบรรยากาศแบบเฉพาะพื้นที่และแบบทั่วทั้งดาว นอกจากนี้ยังเก็บข้อมูลรายละเอียดของระดับอุณภูมิในแต่ละชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์และเหล่าดาวบริวาร รวมถึงองค์ประกอบ สมบัติทางความร้อน และขนาดของวัตถุที่อยู่ใน[[วงแหวนของดาวเสาร์]] [https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/experimentDisplay.do?id=1977-084A-03 เพิ่มเติม]
 
|-
บรรทัด 244:
<!-- Diagram image -->
<!-- {{Css Image Crop |Image= |bSize= 160px |cWidth= 50 |cHeight= 80 |oTop= 0 |oLeft= 0 |Location= Center}} -->
| style="text-align:left;" | ออกแบบมาเพื่อทำการศึกษา[[สนามแม่เหล็ก]] ของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ ปฏิกิริยาระหว่าง[[พายุสุริยะ]]ที่มีต่อ[[แม็กนีโตสเฟียร์]]ของดาวเคราะห์แต่ละดวง สนามแม่เหล็กของพื้นที่ระหว่างดวงดาว (interplanetary space)[[อวกาศชั้นนอก]] ไปจนถึงเส้นขอบระหว่างพายุ[[ลมสุริยะ]]กับสนามแม่เหล็กของ[[ช่องว่างระหว่างดวงดาว (interstellar space)]] [https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/experimentDisplay.do?id=1977-084A-05 เพิ่มเติม]
 
|-
บรรทัด 254:
<!-- Diagram image -->
<!-- {{Css Image Crop |Image= |bSize= 160px |cWidth= 50 |cHeight= 80 |oTop= 0 |oLeft= 0 |Location= Center}} -->
| style="text-align:left;" | ทำการศึกษาคุณสมบัติของอนุภาคไออนในพลาสมาและตรวจหาจำนวนของอิเล็กตรอนที่มีพลังงานในช่วง 5 อิเล็กตรอนโวลต์ถึง 1 กิโล[[อิเล็กตรอนโวลต์]] [https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/experimentDisplay.do?id=1977-084A-06 เพิ่มเติม]
 
|-
บรรทัด 264:
<!-- Diagram image -->
<!-- {{Css Image Crop |Image= |bSize= 160px |cWidth= 50 |cHeight= 80 |oTop= 0 |oLeft= 0 |Location= Center}} -->
| style="text-align:left;" | ทำการวัดความค่าความเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์พลังงาน (energy flux)[[ฟลักซ์]]พลังงาน การกระจายตัวเชิงมุมของไอออนและ[[อิเล็กตรอน]] ตลอดจนวัดความเปลี่ยนแปลงของพลังงานในสารประกอบของ[[ไอออน (ion composition) ]] [https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/experimentDisplay.do?id=1977-084A-07 เพิ่มเติม]
 
|-
บรรทัด 274:
<!-- Diagram image -->
<!-- {{Css Image Crop |Image= |bSize= 160px |cWidth= 50 |cHeight= 80 |oTop= 0 |oLeft= 0 |Location= Center}} -->
| style="text-align:left;" | ทำการค้นหาแหล่งกำเนิดและกระบวนการเร่ง ประวัติในช่วงชีวิตและการพัวพันเชิง[[พลวัต (dynamic contribution) ]]ของ[[รังสีคอสมิก]]ระหว่างดวงดาว (interstellar cosmic ray) [[การสังเคราะห์นิวเคลียส (nucleosynthesis) ]]ของธาตุองค์ประกอบในแหล่งกำเนิดของรังสีคอสมิก พฤติกรรมของ[[รังสีคอสมิก]]ในกลุ่ม[[มวลสารระหว่างดาว]] (interplanetary medium) รวมถึงสภาพแวดล้อมของอนุภาคพลังงานสูงของดาวเคราะห์ที่ถูกกักไว้ (trapped planetary energetic-particle) [https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/experimentDisplay.do?id=1977-084A-08 เพิ่มเติม]
 
|-
บรรทัด 431:
|-
| 14 กุมภาพันธ์ 1990
| ภาพถ่ายสุดท้ายของ[[โครงการวอยเอจเจอร์]]ที่ได้จากยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ซึ่งภายหลังถูกนำมาประกอบเป็น[[ภาพครอบครัวสุริยะ]] (family portrait) จากนั้นปิดการทำงานของกล้องถ่ายภาพทั้ง 2 ชุดเพื่อสงวนพลังงาน
|-
| 17 กุมภาพันธ์ 1998
| ''วอยเอจเจอร์ 1'' ทำสถิติวัตถุที่สร้างโดยมนุษย์ที่อยู่ไกลจาก[[ดวงอาทิตย์]]มากที่สุดซึ่งยาน ''[[ไพโอเนียร์ 10]]'' เคยทำไว้ที่ระยะ 69.419&nbsp;[[หน่วยดาราศาสตร์]] ด้วยอัตราเร็วยานเคลื่อนที่ออกห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่า 1&nbsp;หน่วยดาราศาสตร์ต่อปี ซึ่งถือว่าเป็นความเร็วที่มากที่สุดในประวัติศาสตร์กว่ายาน ''ไพโอเนียร์ 10'' เช่นกัน
|-
| 3 มิถุนายน 1998
บรรทัด 440:
|-
| 16 ธันวาคม 2004
| เคลื่อนผ่านชั้น[[เฮลิโอสเฟียร์#กำแพงกระแทก|กำแพงกระแทก]] (termination shock) ที่ระยะ 94&nbsp;หน่วยดาราศาสตร์ และเข้าสู่ชั้น[[เฮลิโอสเฟียร์#เฮลิโอชีท|เฮลิโอชีท]]
|-
| 1 กุมภาพันธ์ 2007
บรรทัด 449:
|-
| 25 สิงหาคม 2012
| ผ่านเข้าสู่อวกาศชั้น[[เฮลิโอสเฟียร์#เฮลิโอพอส|เฮลิโอพอส]]ที่ระยะ 121 [[หน่วยดาราศาสตร์]] และเข้าสู่ช่วง[[ช่องว่างระหว่างดวงดาว (interstellar space)]]
|-
| 7 กรกฎาคม 2014
| ยืนยันตำแหน่งของยานอยู่ใน[[ช่องว่างระหว่างดวงดาว (interstellar space)]]
|-
| 19 เมษายน 2016
บรรทัด 458:
|-
| 28 พฤศจิกายน 2017
| ทำการจุดเครื่องยนต์ควบคุมเส้นทางการเส้นแนวโคจร (TCM) อีกครั้งนับตั้งแต่ปี 1980<ref>{{Cite news|url=https://www.nasa.gov/feature/jpl/voyager-1-fires-up-thrusters-after-37|title=Voyager 1 Fires Up Thrusters After 37 Years|last=Greicius|first=Tony|date=2017-12-01|work=NASA|access-date=2017-12-13|language=en}}</ref>
|}
 
=== การปล่อยยานและเส้นทางแนวโคจร ===
[[ไฟล์:Animation_of_Voyager_1_trajectory.gif|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Animation_of_Voyager_1_trajectory.gif|thumb|ภาพเคลื่อนไหวแสดงเส้นทางวิถีโค้งแนวโคจรของ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ระหว่างเดือนกันยายน ปี 1977 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 1981
 
{{legend2|magenta|''วอยเอจเจอร์ 1''}}{{·}}{{legend2|Royalblue|[[โลก]]}}{{·}}{{legend2|Cyan|[[ดาวพฤหัสบดี]]}}{{·}}{{legend2|Lime|[[ดาวเสาร์]]}}{{·}}{{legend2|Yellow|[[ดวงอาทิตย์]]}}|alt=]]
[[ไฟล์:Titan_3E_with_Voyager_1.jpg|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Titan_3E_with_Voyager_1.jpg|left|thumb|207x207px|''วอยเอจเจอร์ 1'' บนส่วนหัวของจรวดนำส่ง [[:en:Titan_IIIE|Titan IIIE]]|alt=]]
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ถูกส่งขึ้นไปในอวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977 ณ แท่นปล่อยจรวด 41 ฐานทัพอากาศ[[แหลมคะแนเวอรัล]] ด้วยจรวดนำส่ง [[:en:Titan_IIIE|Titan IIIE]] ประมาณ 2 สัปดาห์หลังจากยานสำรวจ ''[[วอยเอจเจอร์ 2]]'' ถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศไปก่อนเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ปีเดียวกัน อย่างไรก็ตาม แม้จะถูกส่งขึ้นอวกาศช้ากว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 2'' แต่ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ก็เดินทางถึงดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ได้ก่อน<ref name="nasa.jupiter">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/jupiter.html|title=Encounter with Jupiter|publisher=NASA|accessdate=August 18, 2013}}</ref> ด้วยเส้นทาง[[แนวโคจร (trajectory) ]]ที่สั้นกว่า''<ref name="nasa.planetary">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/planetary.html|title=Planetary voyage|publisher=NASA|accessdate=August 18, 2013}}</ref>''
[[ไฟล์:Voyager-1_Jupiter-flyby_March-5-1979.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager-1_Jupiter-flyby_March-5-1979.png|alt=|thumb|แนวการเคลื่อนที่วิถึโค้งโคจรของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ผ่านระบบดาวพฤหัสบดี]]
 
=== บินเฉียดดาวพฤหัสบดี ===
{{Main|การสำรวจดาวพฤหัสบดี}}ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' เริ่มทำการถ่ายภาพดาวพฤหัสบดีในปี ค.ศ. 1979 โดยบินเฉียดใกล้มากที่สุดที่ระยะห่างประมาณ {{convert|349000|km|mi|abbr=off|sp=us}} จากจุดศูนย์กลางดาวเมื่อวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1979<ref name="nasa.jupiter" /> และด้วยตำแน่งของยานที่อยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดี ทำให้ได้ภาพถ่ายที่มีรายละเอียดที่มากขึ้น ส่งผลให้ภารกิจการสังเกตการณ์ระบบของดาวพฤหัสบดีซึ่งได้แก่ เหล่าดาวบริวาร วงแหวน สนามแม่เหล็ก และสภาพแวดล้อมของ[[แถบกัมมันตรังสีแวนอัลเลน|แถบรังสีแวนแอลเลน]] (Van Allen Belts) เสร็จสิ้นภายใน 48 ชั่วโมงเท่านั้น ภารกิจการถ่ายภาพระบบดาวพฤหัสบดีเสร็จสิ้นลงในเดือนเมษายน ค.ศ. 1979
 
การค้นพบ[[ภูเขาไฟ]]ที่ยังคุกรุ่นอยู่ (active volcanoes) บนดวงจันทร์[[ไอโอ (ดาวบริวาร)|ไอโอ]] (Io) ถือว่าเป็นการค้นพบที่สร้างความฮือฮาที่สุด นับเป็นครั้งแรกที่มีการค้นพบภูเขาไฟมีพลังบนดาวดวงอื่นใน[[ระบบสุริยะ]]นอกเหนือจากบนโลก อีกทั้งภูเขาไฟที่ครุกรุ่นเหล่านี้ยังส่งอิทธิพลไปยังดาวพฤหัสบดีด้วย ดวงจันทร์ไอโอถือเป็นแหล่งของสสารหลักที่แผ่ไปทั่วชั้น[[แม็กนีโตสเฟียร์]] (บริเวณโดยรอบของดาวฤกษ์ที่ได้รับอิทธิพลอย่างรุนแรงจากสนามแม่เหล็ก) ของดาวพฤหัสบดี โดยมีการค้นพบร่องรอยของ[[ซัลเฟอร์]] [[ออกซิเจน]] และ[[โซเดียม]]ที่เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟบนดวงจันทร์ไอโอปะปนอยู่ในขอบนอกของชั้น[[แม็กนีโตสเฟียร์]]ของดาวพฤหัสบดี<ref name="nasa.jupiter" />
 
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์'' ทั้งสองลำได้เผยการค้นพบที่สำคัญของดาวพฤหัสบดีเป็นจำนวนมาก เช่น เหล่าดาวบริวาร แถบกัมมันตรังสี และวงแหวนของดาวพฤหัสบดีที่ไม่เคยค้นพบมาก่อน
บรรทัด 478:
{{Clear}}<gallery mode="packed" heights="180">
ไฟล์:Jupiter from Voyager 1 PIA02855 thumbnail 300px max quality.ogv|วิดีโอลำดับเวลาการบินเข้าใกล้ดาวพฤหัสบดีของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ([[:ไฟล์:Jupiter from Voyager 1 PIA02855 max quality.ogv|ดูวิดีโอฉบับเต็ม]])
ไฟล์:Great Red Spot From Voyager 1.jpg|ภาพถ่าย[[จุดแดงใหญ่]] (Great Red Spot) บนดาวพฤหัสบดีซึ่งเป็นพายุขนาดยักษ์หมุนทวนเข็มนาฬิกาที่มีขนาดใหญ่กว่าโลก
ไฟล์:Volcanic crater with radiating lava flows on Io.jpg|ภาพถ่ายลาวาซัลเฟอร์ปริมาณมหาศาลไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟ[[:en:Ra_Patera|รา พาทีรา]]บน[[ไอโอ (Ra Pateraดาวบริวาร) บน|ดวงจันทร์ไอโอ]]
ไฟล์:Vulcanic Explosion on Io.jpg|ภาพถ่ายการปะทุของภูเขาไฟ[[:en:Loki_Patera|โลกิ พาทีรา (Loki Patera)]] ความสูง 160 กิโลเมตรจากพื้นผิว[[ไอโอ (ดาวบริวาร)|ดวงจันทร์ไอโอ]]
ไฟล์:PIA01970.jpg|ภาพถ่ายเส้นริ้วบนพื้นผิว[[ยูโรปา (ดาวบริวาร)|ดวงจันทร์ยูโรป้า]] เผยให้เห็นถึงพื้นผิวที่ยังมีการเคลื่อนตัวอยู่ ถจากระยะ 2.8 ล้านกิโลเมตร
ไฟล์:Ganymede - PIA02278.jpg|ภาพถ่ายจุดสีขาวแสดงพื้นผิวที่โดนทำลายทางธรณีวิทยาบนดวงจันทร์[[แกนีมีด (ดาวบริวาร)|แกนีมีด]] จากระยะ 253,000&nbsp;กิโลเมตร
</gallery>
บรรทัด 489:
{{Main|การสำรวจดาวเสาร์}}
 
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์'' ทั้งสองลำประสบความสำเร็จในการโคจรโดยอาศัยแรงโน้มถ่วง (gravitational assist trajectory) ไปยังดาวเสาร์ อีกทั้งได้ทำการสำรวจ[[ดาวเสาร์]] รวมถึงวงแหวน และเหล่าดาวบริวารของดาวเสาร์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' เดินทางมาถึงดาวเสาร์ในเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1980 และเดินทางเข้าใกล้มากที่สุด โดยห่างจากขอบบนของกลุ่มเมฆ (clound-tops) บนดาวที่ระยะ {{convert|124000|km|mi|-3|sp=us}} ในวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980 ซึ่งกล้องบนยานได้ตรวจพบโครงสร้างอันสลับซับซ้อนบนวงแหวนของดาวเสาร์และใช้เซ็นเซอร์ระยะไกลทำการศึกษาชั้นบรรยากาศของทั้งดาวเสาร์และดวงจันทร์[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ไททัน]] (Titan) ดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุด<ref name="nasa.saturn">{{cite web |url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/saturn.html |title=Encounter with saturn |publisher=NASA |accessdate=August 29, 2013 }}</ref>
 
จากการสำรวจพบว่าชั้นบรรยากาศส่วนบน (upper atmosphere) ของ[[ดาวเสาร์]]ประกอบไปด้วย[[ฮีเลียม]]อยู่ประมาณร้อยละ 7 (คิดเป็นร้อยละ 11 ของชั้นบรรยากาศบนดาวพฤหัสบดี) ขณะที่องค์ประกอบที่เหลือคือ[[ไฮโดรเจน]] เนื่องจากมีการคาดการณ์ว่าฮีเลียมปริมาณมหาศาลจะกระจุกตัวอยู่บริเวณชั้นในของดาวเสาร์เช่นเดียวกับที่พบบนดาวพฤหัสบดีและดวงอาทิตย์ ส่วนฮีเลียมปริมาณเบาบางที่พบในชั้นบรรยากาศส่วนบนอาจแทรกลงมาด้านล่างอย่างช้าๆ ผ่านไฮโดรเจนซึ่งมีมวลน้อยกว่า ซึ่งนั่นอาจเป็นเหตุผลว่าความร้อนส่วนเกินบนดาวเสาร์ที่แผ่ออกมานั้นได้รับมาจากดวงอาทิตย์นั่นเอง นอกจากยังพบว่ามีกระแสลมแรงพัดอยู่บนพื้นผิวดาวเสาร์ ความเร็วลมใกล้เส้นศูนย์สูตรสูงถึง 500&nbsp;เมตรต่อวินาที (1,100&nbsp;ไมล์ต่อชั่วโมง) โดยกระแสลมส่วนใหญ่จะพัดไปทางทิศตะวันออก<ref name="nasa.planetary" />
 
มีการตรวจพบปรากฏการณ์คล้าย[[ออโรรา (ดาราศาสตร์)|ออโรรา]]ซึ่งเกิดจาก[[รังสีอัลตราไวโอเลต]]ที่ปลดปล่อยออกมาจาก[[ไฮโดรเจน]]บริเวณเขตละติจูดกลาง (mid-latitudes) ของชั้นบรรยากาศ และพบออโรราบริเวณละติจูดแถบขั้วโลก (มากกว่า 65 องศา) การเกิดออโรราบนชั้นบรรยากาศที่สูงเช่นนี้อาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนรูปเป็นโมเลกุลเชิงซ้อนของ[[ไฮโดรคาร์บอน]]ซึ่งจะเคลื่นที่ไปรวมกันอยู่ที่แถบ[[เส้นศูนย์สูตร]] ส่วนสาเหตุของการเกิดออโรราบริเวณเขตละติจูดกลางที่พบได้เฉพาะบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึงนั้นยังคงเป็นปริศนา แต่คาดการณ์ว่าอาจเกิดจากการระเบิดของอิเล็กตรอนและไอออนซึ่งเป็นสาเหตุเดียวกับการเกิดออโรราที่พบบนโลก ยานวอยเอจเจอร์ทั้งสองลำได้ทำการวัด[[คาบการหมุนรอบตัวเอง]] (เวลาในหนึ่งวัน) ของดาวเสาร์พบว่าใช้เวลา 10 ชั่วโมง 39 นาที 24 วินาที<ref name="nasa.saturn" />
 
ภารกิจของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ยังรวมถึงการบินเฉียดดวงจันทร์[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ไททัน]] ดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ ซึ่งมีการค้นพบการมีอยู่ของชั้นบรรยากาศจากภาพถ่ายที่ได้จากยาน ''[[ไพโอเนียร์ 11]]'' ในปี ค.ศ. 1979 ระบุว่ามีชั้นบรรยากาศที่หนาแน่นและซับซ้อน ซึ่งทำให้เป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์ในเวลาต่อมา การบินเฉียดดวงจันทร์ไททันเกิดขึ้นเมื่อยานพยายามเดินทางเข้าสู่ระบบของดาวเสาร์โดยพยายามหลีกเลี่ยงการปะทะที่อาจส่งผลต่อการสำรวจ ในที่สุดยานก็เข้าใกล้ที่ระยะประมาณ {{convert|4000|mi|km|order=flip|abbr=on}} จากด้านหลังดวงจันทร์ไททันหากมองจากโลก เครื่องมือบนยานทำการตรวจวัดปฏิกิริยาระหว่างชั้นบรรยากาศกับแสงอาทิตย์ มีการใช้คลื่นวิทยุของยานเพื่อทำการค้นหาองค์ประกอบ ความหนาแน่น และความดันของชั้นบรรยากาศ นอกจากนี้ยังทำการวัดมวลของดวงจันทร์ไททันโดยอาศัยการสังเกตแรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อเส้นทางแนวโคจรของยาน ชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมอย่างหนาแน่นกลายเป็นอุปสรรคทำให้ไม่สามารถมองทะลุถึงพื้นผิวได้ แต่ข้อมูลต่างๆ ที่เก็บได้จากชั้นบรรยากาศทำให้สามารถคาดการณ์ได้ว่ามีทะเลสาบโฮโดรคาร์บอนเหลวอยู่บนพื้นผิวดาว<ref name="Bell20153">{{cite book|author=Jim Bell|title=The Interstellar Age: Inside the Forty-Year Voyager Mission|url=https://books.google.com/books?id=KXPoAwAAQBAJ&pg=PT93|date=February 24, 2015|publisher=Penguin Publishing Group|isbn=978-0-698-18615-6|pages=93}}</ref>
 
เนื่องภารกิจการสำรวจดวงจันทร์ไททันถูกจัดให้เป็นภารกิจสำคัญ ดังนั้นเส้นทางการแนวโคจรของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' จึงถูกออกแบบให้บินเฉียดดวงจันทร์ไททันให้มากที่สุด ส่งผลให้ยานเคลื่อนผ่านขั้วโลกใต้ของดาวเสาร์และหลุดออกจาก[[ระนาบสุริยวิถี]] ซึ่งทำให้ภารกิจการสำรวจดาวเคราะห์นั้นสิ้นสุดลงไปด้วย<ref name="Swift1997">{{cite book|author=David W. Swift|title=Voyager Tales: Personal Views of the Grand Tour|url=https://books.google.com/books?id=E-NGFqfq1LsC&pg=PA69|date=January 1, 1997|publisher=AIAA|isbn=978-1-56347-252-7|page=69}}</ref> หากยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ล้มเหลวในการเข้าใกล้เพื่อทำการสำรวจดวงจันทร์ไททัน ทางนาซ่าก็ยังสามารถปรับเปลี่ยนเส้นทางของยาน ''วอยเอจเจอร์ 2'' มาทำภารกิจนี้แทนได้<ref name="Bell20153" />{{rp|94}} โดยไม่โคจรผ่านดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน<ref name="faq3" /> นอกจากนี้ในแผนเดิมเส้นทางแนวโคจรของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' จะไม่ผ่านดาวยูเรนัสหรือดาวเนปจูน<ref name="Bell20153" />{{rp|155}} แต่สามารถปรับเปลี่ยนเส้นทางภายหลังได้โดยการไม่บินเฉียดดวงจันทร์ไททัน อีกทั้งยังสามารถเดินทางจากดาวเสาร์ไปยัง[[ดาวพลูโต]]ได้ภายในปี ค.ศ. 1986 อีกด้วย<ref name="SD3" />
<gallery mode="packed" heights="180">
ไฟล์:Crescent Saturn as seen from Voyager 1.jpg|ภาพถ่ายรูปเสี้ยวของ[[ดาวเสาร์]]ที่ระยะห่าง 5.3&nbsp;ล้านกิโลเมตร (4 วันหลังการเข้าใกล้ระยะใกล้สุด)
ไฟล์:Voyager1-saturn-f-ring.jpg|ภาพถ่ายแนวแคบของวงแหวน[[ดาวเสาร์]]ที่มีลักษณะเป็นเกลียวบิด
ไฟล์:Voyager 1 - view of Saturn's moon Mimas.jpg|ภาพถ่ายดวงจันทร์[[ไมมัส (ดาวบริวาร)|ไมมัส]] (Mimas) ที่ระยะห่าง 425,000&nbsp;กิโลเมตร ด้านขวาบนคือปล่องภูเขาไฟเฮอร์เชล [[:en:Herschel_(HerschelMimantean_crater)|เฮอร์เชล]]
ไฟล์:Tethys - PIA01974.jpg|ภาพถ่ายดวงจันทร์[[ทีทิส (ดาวบริวาร)|ทีทิส]] (Tethys) และแนว[[หุบเขาทรุด]] [[:en:Ithaca_Chasma|อิธากา ชาสมา (Ithaca Chasma)]] จากระยะ 1.2&nbsp;ล้านกิโลเมตร
ไฟล์:Dione from Voyager 1.jpg|ภาพถ่ายรอยแตกบนพื้นผิวดวงจันทร์[[ไดโอนี]]
ไฟล์:Rhea - PIA02270.jpg|ภาพถ่ายพื้นผิวน้ำแข็งของดวงจันทร์[[รีอา (ดาวบริวาร)|รีอา]] (Rhea) ประกอบกับหลุมอุกกาบาต
บรรทัด 510:
{{center|{{commons-inline|bullet=none|Category:Photos of Saturn system by Voyager 1|the ''Voyager 1'' Saturn encounter}}}}
 
== การโคจรออกจากเฮลิโอสเฟียร์ ==
[[ไฟล์:Family_portrait_(Voyager_1).png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Family_portrait_(Voyager_1).png|alt=A set of grey squares trace roughly left to right. A few are labeled with single letters associated with a nearby colored square. J is near to a square labeled Jupiter; E to Earth; V to Venus; S to Saturn; U to Uranus; N to Neptune. A small spot appears at the center of each colored square|thumb|400x400px|ภาพ[[ครอบครัวสุริยะ]]ที่ได้จากยานสำรวจ ''วอยเอเจอร์ 1'']][[ไฟล์:Voyager_1_-_14_February_1990.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager_1_-_14_February_1990.png|thumb|ตำแหน่งของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เหนือระนาบสุริยะวิถีเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990]]ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ทำการถ่าย[[ภาพครอบครัวสุริยะ]] (family portrait) จากมุมมองนอกระบบสุริยะได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์<ref name="nasa.family">{{cite web|url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/photo_gallery/caption/solar_family.txt|title=Photo Caption|publisher=Public Information Office|accessdate=August 26, 2010}}</ref> ซึ่งรวมถึงภาพถ่ายของโลกที่รู้จักกันในชื่อ[[เพลบลูดอต]] (Pale Blue Dot) ก่อนที่จะทำการปิดการทำงานของอุปกรณ์กล้องถ่ายภาพเพื่อสงวนพลังงานสำหรับระบบอื่นในยานหลังจากนั้น เนื่องจากซอฟต์แวร์ของระบบกล้องถ่ายภาพทั้งหมดได้ถูกลบออกหมดแล้ว จึงเป็นการยากที่จะเปิดระบบนี้ขึ้นมาใช้งานอีกครั้ง นอกจากนี้ยังไม่มีซอฟต์แวร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายจากยานบนโลกอีกแล้วเช่นกัน<ref name="faq3" />
 
ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' โคจรที่ระยะห่าง 69 [[หน่วยดาราศาสตร์]]จากดวงอาทิตย์ ซึ่งมากกว่าระยะที่ยาน[[ไพโอเนียร์ 10]] ที่เคยเป็นยานอวกาศที่โคจรห่างจากโลกมากที่สุด<ref name="cnn.9802">{{cite news|title=Voyager 1 now most distant man-made object in space|url=http://edition.cnn.com/TECH/space/9802/17/nasa.distant.objects/|publisher=CNN|accessdate=July 1, 2012|archiveurl=https://www.webcitation.org/68pdJn9M5?url=http://edition.cnn.com/TECH/space/9802/17/nasa.distant.objects/|archivedate=July 1, 2012|date=February 17, 1998|deadurl=yes|df=mdy-all}}</ref><ref name="g.2013sep13">{{cite news|last=Clark|first=Stuart|title=Voyager 1 leaving solar system matches feats of great human explorers|url=https://www.theguardian.com/science/across-the-universe/2013/sep/13/voyager-1-solar-system-great-explorers|newspaper=The Guardian|date=September 13, 2013}}</ref> นอกจากนี้ยานยังเดินทางด้วยความเร็วประมาณ 17 กิโลเมตรต่อวินาที (11 ไมล์ต่อวินาที)<ref name="goo.50">{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=-vZ0BVSHix4C&pg=PA62|title=If the Universe is Teeming with Aliens … WHERE IS EVERYBODY?: Fifty Solutions to the Fermi Paradox and the Problem of Extraterrestrial Life|isbn=978-0-387-95501-8|last=Webb|first=Stephen|date=October 4, 2002}}</ref> ซึ่งเป็น[[ความเร็วถอยห่าง]]จากดวงอาทิตย์ (recession speed) ที่มากที่สุดเมื่อเทียบกับยานอวกาศทุกลำ<ref name="dd.fast">{{cite web|url=http://www.daviddarling.info/encyclopedia/F/fastest_spacecraft.html|title=Fastest Spacecraft|first=David|last=Darling|accessdate=August 19, 2013}}</ref>
 
ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้เดินทางเข้าสู่[[ช่องว่างระหว่างดวงดาว (interstellar space)]] มีการใช้อุปกรณ์ตรวจวัดเพื่อทำการศึกษาระบบสุริยะอย่างต่อเนื่อง นักวิทยาศาสตร์ของศูนย์ปฏิบัติการเครื่องยนต์ไอพ่น (JPL) ได้เปิดใช้งานอุปกรณ์ปล่อย[[คลื่นพลาสมา]]ที่ติดตั้งอยู่บนทั้งยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' และ ''2'' เพื่อทำการศึกษา[[เฮลิโอพอส (heliopause)]] ซึ่งเป็นแนวเขตที่[[ลมสุริยะ]] (solar wind) ได้ถูกหยุดลงเพราะเป็นบริเวณแรงดันของ[[มวลสารระหว่างดาว]] (interstellar medium) กับลมสุริยะเข้าสู่สมดุลกัน<ref name="nasa.int">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|publisher=JPL|title=Voyager 1 in heliopause|accessdate=August 18, 2013}}</ref> ในปี ค.ศ. 2013 ยานสำรวจโคจรด้วยความเร็วสัมพัทธ์กับดวงอาทิตย์ประมาณ 17,030 เมตรต่อวินาที (55,900 ฟุตต่อวินาที)<ref name="nasa.201309062">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/weekly-reports/|title=Voyager Mission Operations Status Report # 2013-09-06, Week Ending September 6, 2013|publisher=JPL|accessdate=September 15, 2013}}</ref> และในปัจจุบันยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' โคจรโดยคงความเร็วคงที่ 325 ล้านไมล์ (523×10<sup>6</sup> กิโลเมตร) ต่อปี<ref>{{cite news|last=Wall|first=Mike|url=https://www.space.com/22729-voyager-1-spacecraft-interstellar-space.html|title=It's Official! Voyager 1 Spacecraft Has Left Solar System|work=Space.com|date=September 12, 2013|accessdate=May 30, 2014}}</ref> หรือประมาณ 1 [[ปีแสง]] (light-year) ใน 18,000 ปี
 
=== กำแพงกระแทก ===
[[ไฟล์:Voyager_speed_and_distance_from_Sun.svg|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager_speed_and_distance_from_Sun.svg|right|thumb|ความเร็วของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' และ ''2'' และระยะห่างจากดวงอาทิตย์]]
เหล่านักวิทยาศาสตร์จากห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์ของ[[มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์]] (Johns Hopkins University) เชื่อว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้เดินทางเข้าสู่ชั้น[[กำแพงกระแทก]] (termination shock) ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003<ref name="cnn.20031105">{{cite news|url=http://edition.cnn.com/2003/TECH/space/11/05/voyager.solar.boundary/|title=Spacecraft reaches edge of Solar System|first=Kate|last=Tobin|publisher=CNN|date=November 5, 2003|accessdate=August 19, 2013}}</ref> บริเวณนี้เป็นจุดที่ลมสุริยะชะลอความเร็วลงจนช้ากว่าความเร็วของเสียง (subsonic speed) หรือต่ำกว่า 100 กิโลเมตรต่อวินาที แต่ก็ยังมีข้อโต้แย้งกันในหมู่นักวิทยาศาสตร์กลุ่มอื่นๆ มีการถกประเด็นนี้ใน[[:en:Nature_(journal)|วารสารวิชาการเนเจอร์ (Nature)]] ฉบับวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 2003<ref name="n.426021">{{cite journal|doi=10.1038/426021a|title=Planetary Science: Over the edge?|date=2003|last=Fisk|first=Len A.|journal=Nature|volume=426|issue=6962|pages=21–2|pmid=14603294|bibcode=2003Natur.426...21F|url=https://deepblue.lib.umich.edu/bitstream/2027.42/62712/1/426021a.pdf}}</ref> โดยประเด็นนี้จะยังคงต้องถกเถียงดันต่อไปจนกว่าจะมีข้อมูลใหม่ที่สามารถมายืนยันได้ อีกทั้งอุปกรณ์ตรวจจับลมสุริยะที่ติดตั้งไว้บนยานได้หยุดการทำงานไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 ทำให้การตรวจหาชั้นกำแพงกระแทกทำได้โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากอุปกรณ์ตัวอื่นแทน<ref name="n.02068">{{cite journal|doi=10.1038/nature02068|title=Voyager 1 exited the solar wind at a distance of ∼85 au from the Sun|date=2003|last=Krimigis|first=S. M.|last2=Decker|first2=R. B.|last3=Hill|first3=M. E.|last4=Armstrong|first4=T. P.|last5=Gloeckler|first5=G.|last6=Hamilton|first6=D. C.|last7=Lanzerotti|first7=L. J.|last8=Roelof|first8=E. C.|journal=Nature|volume=426|issue=6962|pages=45–8|pmid=14603311|bibcode=2003Natur.426...45K}}</ref><ref name="n.02066">{{cite journal|doi=10.1038/nature02066|title=Enhancements of energetic particles near the heliospheric termination shock|date=2003|last=McDonald|first=Frank B.|last2=Stone|first2=Edward C.|last3=Cummings|first3=Alan C.|last4=Heikkila|first4=Bryant|last5=Lal|first5=Nand|last6=Webber|first6=William R.|journal=Nature|volume=426|issue=6962|pages=48–51|pmid=14603312|bibcode=2003Natur.426...48M}}</ref><ref name="grl.018291">{{cite journal|doi=10.1029/2003GL018291|title=Search for the heliosheath with Voyager 1 magnetic field measurements|date=2003|last=Burlaga|first=L. F.|journal=Geophysical Research Letters|volume=30|issue=20|pages=n/a|bibcode=2003GeoRL..30.2072B|url=https://authors.library.caltech.edu/55625/1/2003-46.pdf}}</ref>[[ไฟล์:Pale_Blue_Dot.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Pale_Blue_Dot.png|left|thumb|271x271px|ภาพ[[เพลบลูดอต]]เผยให้เห็นตำแหน่งของโลกจากระยะ 6 พันล้านกิโลเมตร (จุดเล็กสีฟ้าอ่อนประมาณกึ่งกลางของแถบสีน้ำตาลทางด้านขวา) ท่ามกลางความมืดมิดของห้วงอวกาศ]]ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2005 ทางนาซาได้เผยแพร่บทความสรุปผลว่ายานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้โคจรเข้าสู่ห้วงอวกาศบริเวณที่เรียกว่า[[เฮลิโอชีท]] (heliosheath) โดยในงานประชุมทางวิทยาศาสตร์ที่จัดขึ้นที่[[สหภาพธรณีวิทยาอเมริกา]] (American Geophysical Union: AGU) เมือง[[นิวออร์ลีนส์]] วันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 2005 ทาง ดร.เอ็ด สโตน ([[:en:Edward_C._Stone|Dr. Ed Stone]]) ได้เสนอหลักฐานที่ยืนยันได้ว่ายานเดินทางผ่านชั้นกำแพงกระแทกในช่วงปลายปี ค.ศ. 2004<ref name="cross">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|title=Voyager crosses termination shock|accessdate=August 29, 2013}}</ref> ซึ่งคาดว่าเกิดขึ้นในวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2004 ที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 94 หน่วยดาราศาสตร์<ref name="cross2">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|title=Voyager crosses termination shock|accessdate=August 29, 2013}}</ref><ref name="nasa.timeline">{{cite web|title=Voyager Timeline|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/timeline.html|publisher=NASA/JPL|date=February 2013|accessdate=December 2, 2013}}</ref>
 
=== เฮลิโอชีท ===
บรรทัด 527:
วันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 2010 ไมีการยืนยันว่ายานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' เดินทางผ่านขอบเขตของการขยายตัวของ[[ลมสุริยะ]] โดยใช้ข้อมูลที่ได้จากเครื่องตรวจวัดอนุภาคมีประจุพลังงานต่ำ (Low Energy Charged Particle: LECP) นักวิทยาศาสตร์ได้ตั้งข้อสันนิษฐานว่าลมสุริยะในบริเวณนี้มีทิศทางไหลย้อนกลับอันเนื่องมาจากสสารระหว่างดาว (interstellar) ที่พยายามไหลต้านกับเฮลิโอสเฟียร์ (heliosphere) และในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2010 มีการตรวจพบว่าลมสุริยะมีค่าคงที่เป็นศูนย์ ซึ่งสามารถใช้สนับสนุนข้อสันนิษฐานนี้ได้เป็นอย่างดี<ref name="nasa.36121">{{cite web|url=http://solarsystem.nasa.gov/news/display.cfm?News_ID=36121|title=Voyager 1 Sees Solar Wind Decline|publisher=NASA|date=December 13, 2010|accessdate=September 16, 2013|deadurl=yes|archiveurl=https://www.webcitation.org/617oC2rqu?url=http://solarsystem.nasa.gov/news/display.cfm?News_ID=36121|archivedate=August 22, 2011|df=mdy-all}}</ref><ref name="Krimigis2011">{{Cite journal|last1=Krimigis|first1=S. M.|last2=Roelof|first2=E. C.|last3=Decker|first3=R. B.|last4=Hill|first4=M. E.|title=Zero outward flow velocity for plasma in a heliosheath transition layer|doi=10.1038/nature10115|journal=Nature|volume=474|issue=7351|pages=359–361|year=2011|pmid=21677754|pmc=|bibcode=2011Natur.474..359K}}</ref> ในวันนั้นยานโคจรห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 116 หน่วยดาราศาสตร์ หรือประมาณ 17.3 พันล้านกิโลเมตร (10.8 พันล้านไมล์)<ref name="bbc.11988466">{{cite news|url=https://www.bbc.co.uk/news/science-environment-11988466|title=Voyager near Solar System's edge|first=Jonathan|last=Amos|work=BBC News|date=December 14, 2010|accessdate=December 21, 2010}}</ref>
 
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้รับคำสั่งให้เปลี่ยนทิศทางเพื่อทำการตรวจวัดการเลี้ยวเบนของลมสุริยะบริเวณตำแน่งนี้ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2011 (ประมาณ 33 ปีหลังการปล่อยยาน) ภายหลังการทดสอบการหมุนตัวของยานที่แล้วเสร็จในเดือนกุมภาพันธ์ ทำให้ยานมีความพร้อมที่จะถูกควบคุมให้เปลี่ยนทิศทางได้อีกครั้ง โดยยังคงเส้นทางแนวโคจรไว้เช่นเดิม แต่จะหมุนทิศทางของยานไป 70 องศาทวนเข็มนาฬิกาเมื่อเทียบกับโลกเพื่อทำการตรวจจับลมสุริยะ (ถือเป็นครั้งแรกที่มีการบังคับตัวยานครั้งใหญ่นับตั้งแต่การถ่าย[[ภาพครอบครัวสุริยะ]]ในปี ค.ศ. 1990) โดยหลังจากทดสอบการหมุนตัวยานในครั้งแรกพบว่าตัวยานสามารถหมุนตัวกลับมาหาดาว[[แอลฟาคนครึ่งม้า]] (α-Centauri) ซึ่งเป็นดาวนำทางของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้โดยไม่พบปัญหาใดๆ นอกจากนี้ยังสามารถส่งสัญญาณกลับมายังโลกได้อีกครั้งด้วย คาดว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เดินทางเข้าสู่อวกาศช่องว่างระหว่างดวงดาว (interstellar space) ไปแล้วโดยไม่ทราบวันเวลาแน่ชัด ในขณะยาน ''วอยเอจเจอร์ 2'' ยังคงกำลังตรวจวัดการไหลออกของลมสุริยะที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งซึ่งคาดว่าน่าจะตามหลังยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ในแง่ของเหตุการณ์ที่ได้พบไปประมาณหลายเดือนหรือหลายปี<ref name="nasa.mission">{{cite web|author=NASA|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/news/answer_wind.html|title=Voyager – The Interstellar Mission|publisher=NASA|accessdate=September 16, 2013}}</ref><ref name="bbc.12688246">{{cite news|url=https://www.bbc.co.uk/news/science-environment-12688246|work=BBC News|title=Voyager: Still dancing 17 billion km from Earth|date=March 9, 2011}}</ref>
 
ปัจจุบันตำแหน่งของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2019 เทียบจากโลกตามพิกัดศูนย์สูตร (equatorial coordinates) คือ[[เดคลิเนชัน]]ที่ 12 องศา 27 ลิปดา, [[ไรต์แอสเซนชัน]]ที่ 17 ชั่วโมง 14 นาที และ[[ละติจูดสุริยะ]]ที่ 35 องศา (ละติจูดสุริยะจะเปลี่ยนช้ามาก) ซึ่งเป็นตำแหน่งของ[[กลุ่มดาวคนแบกงู]] (Ophiuchus)<ref name="faq3" />