ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ukopjhh (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Ukopjhh (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 17:
| ตำแหน่ง = เจ้าอาวาส[[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]]
}}
'''สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ''' (นามเดิม: '''โต''') หรือนามที่นิยมเรียก '''"สมเด็จโต"''' '''"หลวงปู่โต"''' หรือ '''"สมเด็จวัดระฆัง"''' เป็นพระภิกษุ[[มหานิกาย]] เป็นพระมหาเถระรูปสำคัญที่ได้รับความนิยมนับถืออย่างมากในประเทศไทย ท่านเคยดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส[[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]]ในสมัยรัชกาลที่ 4-5 สมัยท่านยังเด็ก​ ท่านทรงชอบตระกูลขุนนางระดับสูงของกรมหลวงอนันธิยาวงศ์​ซึ่งเป็นเด็กหญิงลูกลูกสาวคนที่2 พอเ่งได้บรรลุเรื่องทางธรรมและทางโลกก็ออกบวชตลอดชีวิต
 
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) นับเป็นพระเกจิเถราจารย์ผู้มีปฏิปทาจริยาวัตรน่าเลื่อมใส เป็นที่เคารพนับถือทั่วไปมาตั้งแต่ท่านยังมีชีวิตอยู่ ตั้งแต่พระมหากษัตริย์จนถึงสามัญชน<ref>พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์). (2419). ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิทยากร. หน้า 66-67</ref> และนอกจากจริยาวัตรด้านความสมถะอันโดดเด่นของท่านแล้ว ท่านยังทรงคุณทางด้านวิชชาคาถาอาคม เมตตามหานิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุมงคล "พระสมเด็จ" ที่ท่านได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา ได้ถูกจัดเข้าในพระเครื่องเบญจภาคี หรือสุดยอดของพระเครื่องวัตถุมงคล 1 ใน 5 ของประเทศไทย<ref>คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2554). พระเครื่องเบญจภาคี. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://angsila.cs.buu.ac.th/~it471452/phrathai/page2-5.html</ref> และมีราคาซื้อขายในปัจจุบันต่อองค์เป็นราคานับล้านบาท<ref>ข่าวพระเครื่องคมชัดลึก. (2554). สุดยอดการเช่าพระแห่งปี ๕๒. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.komchadluek.net/detail/20091229/42948/สุดยอดการเช่าพระแห่งปี๕๒.html </ref> ด้วยปฏิปทาจริยาวัตรและคุณวิเศษอัศจรรย์ของท่าน ทำให้พุทธศาสนิกชนชาวไทยเคารพนับถือว่าท่านเป็นอมตะเถราจารย์รูปหนึ่งของเมืองไทย และมีผู้นับถือจำนวนมากในปัจจุบัน