ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
| distance = {{convert|6490|km|mi|abbr=on}}
| arrival_date = 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980
}}|programme=ยานสำรวจอวกาศที่สำคัญ|previous_mission=''[[วอยเอจเจอร์ 2]]''|next_mission=''[[กาลิเลโอ (ยานอวกาศ)|กาลิเลโอ]]''}}'''''วอยเอจเจอร์ 1''''' ({{lang-en|''Voyager 1''}}) เป็นยานสำรวจอวกาศแบบไร้คนขับซึ่งองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ[[สหรัฐ]]หรือองค์การ[[นาซา]] (The National Aeronautics and Space Administration: NASA) ได้ทำการปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977 ซึ่งเป็นเวลา 16 วันหลังการปล่อยยานฝาแฝด ''[[วอยเอจเจอร์ 2]]'' ({{lang-en|''Voyager 2''}}) ภายใต้[[โครงการวอยเอจเจอร์]] ปัจจุบันยานสำรวจปฏิบัติงานอยู่ในอวกาศเป็นเวลานานถึง {{Age in years, months and days|year=1977|month=09|day=05}} ซึ่งยังคงสื่อสารกับ[[โลก]]ผ่านทาง[[เครือข่ายอวกาศห้วงลึก|เครือข่ายสื่อสารอวกาศห้วงลึก]] (Deep Space Network: DSN) เพื่อรับคำสั่งประจำและส่งข้อมูลกลับมา ด้วยระยะห่างของยานสำรวจที่อยู่ห่างจากโลกราว 145 [[หน่วยดาราศาสตร์]] (21.7 พันล้านกิโลเมตร, 13.5 พันล้านไมล์) เมื่อวันที่ 37 มิถุนายน ค.ศ. 2019<ref name="voyager">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/status/|title=Voyager - Mission Status|last=|first=|date=|work=Jet Propulsion Laboratory|publisher=National Aeronautics and Space Administration|archive-url=|archive-date=|dead-url=|accessdate=February 16, 2019}}</ref> จึงถือได้ว่าเป็นวัตถุที่สร้างโดยมนุษย์ที่อยู่ไกลจาก[[โลก]]มากที่สุด<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|title=Voyager 1|work=[[BBC]] Solar System|accessdate=4 September 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180203195855/http://www.bbc.co.uk/science/space/solarsystem/space_missions/voyager_1|archive-date=February 3, 2018|dead-url=yes|df=mdy-all}}</ref>
 
ภารกิจของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' คือการบินเฉียด (flyby) [[ดาวพฤหัสบดี]] [[ดาวเสาร์]] และ[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ดวงจันทร์ไททัน]]ซึ่งเป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ เดิมทีแล้วมีการวางเส้นทางโคจรของยานเพื่อบินเฉียด[[ดาวพลูโต]]โดยการไม่บินเฉียดดวงจันทร์ไททัน แต่ภายหลังมีการเปลี่ยนเป็นการบินเฉียดดวงจันทร์ไททันแทน เนื่องจากต้องการศึกษาชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น ซึ่งเป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์มากในขณะนั้น<ref name="faq3">{{cite web|url=https://www.jpl.nasa.gov/voyager/frequently-asked-questions/|title=Voyager – Frequently Asked Questions|publisher=NASA|date=February 14, 1990|accessdate=August 4, 2017}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.nasaspaceflight.com/2015/07/new-horizons-pluto-historic-kuiper-encounter/|title=New Horizons conducts flyby of Pluto in historic Kuiper Belt encounter|accessdate=September 2, 2015}}</ref><ref name="SD3">{{cite web|url=http://www.spacedaily.com/reports/What_If_Voyager_Had_Explored_Pluto_999.html|title=What If Voyager Had Explored Pluto?|accessdate=September 2, 2015}}</ref> ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ทำการสำรวจสภาพอากาศ สภาพสนามแม่เหล็ก และวงแหวนของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ นอกจากนี้ยังเป็นยานสำรวจลำแรกที่ได้ถ่ายภาพเผยรายละเอียดดาวบริวารของดาวฤกษ์เหล่านี้อีกด้วย
บรรทัด 529:
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้รับคำสั่งให้เปลี่ยนทิศทางเพื่อทำการตรวจวัดการเลี้ยวเบนของลมสุริยะบริเวณตำแน่งนี้ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2011 (ประมาณ 33 ปีหลังการปล่อยยาน) ภายหลังการทดสอบการหมุนตัวของยานที่แล้วเสร็จในเดือนกุมภาพันธ์ ทำให้ยานมีความพร้อมที่จะถูกควบคุมให้เปลี่ยนทิศทางได้อีกครั้ง โดยยังคงเส้นทางโคจรไว้เช่นเดิม แต่จะหมุนทิศทางของยานไป 70 องศาทวนเข็มนาฬิกาเมื่อเทียบกับโลกเพื่อทำการตรวจจับลมสุริยะ (ถือเป็นครั้งแรกที่มีการบังคับตัวยานครั้งใหญ่นับตั้งแต่การถ่าย[[ภาพครอบครัวสุริยะ]]ในปี ค.ศ. 1990) โดยหลังจากทดสอบการหมุนตัวยานในครั้งแรกพบว่าตัวยานสามารถหมุนตัวกลับมาหาดาว[[แอลฟาคนครึ่งม้า]] (α-Centauri) ซึ่งเป็นดาวนำทางของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้โดยไม่พบปัญหาใดๆ นอกจากนี้ยังสามารถส่งสัญญาณกลับมายังโลกได้อีกครั้งด้วย คาดว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เดินทางเข้าสู่อวกาศช่องว่างระหว่างดวงดาว (interstellar space) ไปแล้วโดยไม่ทราบวันเวลาแน่ชัด ในขณะยาน ''วอยเอจเจอร์ 2'' ยังคงกำลังตรวจวัดการไหลออกของลมสุริยะที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งซึ่งคาดว่าน่าจะตามหลังยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ในแง่ของเหตุการณ์ที่ได้พบไปประมาณหลายเดือนหรือหลายปี<ref name="nasa.mission">{{cite web|author=NASA|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/news/answer_wind.html|title=Voyager – The Interstellar Mission|publisher=NASA|accessdate=September 16, 2013}}</ref><ref name="bbc.12688246">{{cite news|url=https://www.bbc.co.uk/news/science-environment-12688246|work=BBC News|title=Voyager: Still dancing 17 billion km from Earth|date=March 9, 2011}}</ref>
 
ปัจจุบันตำแหน่งของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ณ วันที่ 7 ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2019 เทียบจากโลกตามพิกัดศูนย์สูตร (equatorial coordinates) คือ[[เดคลิเนชัน]]ที่ 12 องศา 27 ลิปดา, [[ไรต์แอสเซนชัน]]ที่ 17 ชั่วโมง 14 นาที และ[[ละติจูดสุริยะ]]ที่ 35 องศา (ละติจูดสุริยะจะเปลี่ยนช้ามาก) ซึ่งเป็นตำแหน่งของ[[กลุ่มดาวคนแบกงู]] (Ophiuchus)<ref name="faq3" />
 
ในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 2011 มีการประกาศว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ตรวจพบรังสีช่วง[[:en:Lyman_series|ไลแมน-อัลฟา]] (Lyman-alpha) ที่มีจุดกำเนิดมาจากดาราจักร[[ทางช้างเผือก]] (Milky Way) ได้เป็นครั้งแรก จากปกติยานจะพบแต่รังสีช่วงไลแมน-อัลฟาที่มาจากดาราจักรอื่นๆ รังสีที่มาจากดาราจักรทางช้างเผือกจะถูกรบกวนจากดวงอาทิตย์ ทำให้ไม่สามารถตรวจจับได้<ref name="ng.111201">{{cite web|url=https://news.nationalgeographic.com/news/2011/12/111201-voyager-probes-milky-way-light-hydrogen-sun-nasa-space|title=Voyager Probes Detect "invisible" Milky Way Glow|publisher=National Geographic|date=December 1, 2011|accessdate=December 4, 2011}}</ref>
 
องค์การนาซ่านาซาได้ลงประกาศในวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 2011 ว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้โคจรเข้าสู่อวกาศพื้นที่ใหม่ที่เรียกว่า "cosmic purgatory" ซึ่งเป็นชื่อเรียกพื้นที่สแตกเนชัน (stagnation) กล่าวคือ ภายในพื้นที่นี้อนุภาคมีประจุที่ปลดปล่อยออกมาจากดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ช้าลงและเริ่มเคลื่อนที่ย้อนกลับ และด้วยสนามแม่เหล็กของระบบสุริยะที่มากกว่าสนามแม่เหล็กของช่องว่างระหว่างดวงดาว (interstellar space) ถึงสองเท่านั้นได้ก่อให้เกิดเป็นแรงดันขึ้น อนุภาคมีพลังงานที่มีจุดกำเนิดมาจากระบบสุริยะจะลดลงเกือบกึ่งหนึ่ง ขณะที่มีการตรวจพบอิเล็กตรอนพลังงานสูงจากบริเวณภายนอกมากถึง 100 ทบ เส้นขอบส่วนในของพื้นที่สแตกเนชันนี้อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 113 หน่วยดาราศาสตร์<ref name="cnn.20111206">{{cite news|url=http://lightyears.blogs.cnn.com/2011/12/06/spacecraft-enters-cosmic-purgatory/|title=Spacecraft enters 'cosmic purgatory'|date=December 6, 2011|accessdate=December 7, 2011|work=CNN}}</ref>
 
=== เฮลิโอพอส (H'''eliopause''') ===
นาซาได้ลงประกาศในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2012 ว่ายานสำรวจได้ตรวจพบความเปลี่ยนแปลงบริเวณโดยรอบยานที่คาดว่าน่าจะบ่งบอกการมาถึงของ[[เฮลิโอพอส]]<ref name="space.16167">{{cite web|url=https://www.space.com/16167-voyager1-spacecraft-interstellar-space.html|title=NASA Voyager 1 Spacecraft Nears Interstellar Space|publisher=Space.com|accessdate=August 19, 2013}}</ref> ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้รายงานว่ามีการเพิ่มขึ้นของอนุภาคมีประจุจากอวกาศชั้นช่องว่างระหว่างดวงดาว (interstellar space) ซึ่งปกติจะมีการหักเหเนื่องจากอิทธิพลของลมสุริยะภายในชั้น[[เฮลิโอสเฟียร์]]ที่มาจากดวงอาทิตย์ นั่นหมายความว่ายานได้เริ่มโคจรเข้าสู่ชั้นสสารระหว่างดวงดาว (interstellar medium) ซึ่งสุดขอบของระบบสุริยะแล้ว<ref name="nasa.20120614">{{cite web|url=https://www.nasa.gov/mission_pages/voyager/voyager20120614.html|title=Data From NASA's Voyager 1 Point to Interstellar Future|publisher=[[NASA]]|date=June 14, 2012|accessdate=June 16, 2012}}</ref>
 
ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เป็นยานอวกาศลำแรกที่ได้เดินทางเข้าสู่อวกาศชั้นเฮลิโอพอสในเดือนสิงหา ค.ศ. 2012 ซึ่งเป็นระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 121 หน่วยดาราศาสตร์ อย่างไรก็ตามเหตุการณ์นี้เพิ่งจะได้รับการยืนยันในช่วง 1 ปีให้หลังไปแล้ว<ref name="Cook2013">{{cite web|last=Cook|first=J.-R. C.|last2=Agle|first2=D.C.|last3=Brown|first3=D.|title=NASA Spacecraft Embarks on Historic Journey into Interstellar Space|website=NASA|date=September 12, 2013|url=https://www.nasa.gov/mission_pages/voyager/voyager20130912.html|accessdate=September 14, 2013}}</ref><ref name="Ghose2013">{{cite web|last=Ghose|first=Tia|title=Voyager 1 Really Is in Interstellar Space: How NASA Knows|website=Space.com|publisher=TechMedia Network|date=September 13, 2013|url=https://www.space.com/22797-voyager-1-interstellar-space-nasa-proof.html|accessdate=September 14, 2013}}</ref><ref name="Cowen2013">{{Cite journal|last1=Cowen|first1=R.|doi=10.1038/nature.2013.13735|title=Voyager 1 has reached interstellar space|journal=Nature|year=2013|pmid=|pmc=}}</ref><ref name="Kerr2013">{{Cite journal|last1=Kerr|first1=R. A.|title=It's Official—Voyager Has Left the Solar System|doi=10.1126/science.341.6151.1158|journal=Science|volume=341|issue=6151|pages=1158–1159|year=2013|pmid=24030991|pmc=}}</ref><ref name="Gurnett2013">{{Cite journal|last1=Gurnett|first1=D. A.|last2=Kurth|first2=W. S.|last3=Burlaga|first3=L. F.|last4=Ness|first4=N. F.|title=In Situ Observations of Interstellar Plasma with Voyager 1|doi=10.1126/science.1241681|journal=Science|year=2013|pmid=24030496|pmc=|volume=341|issue=6153|pages=1489–1492|bibcode=2013Sci...341.1489G}}</ref>
 
ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2019 แสงจากดวงอาทิตย์ต้องใช้เวลาประมาณ 20.11 ชั่วโมงเพื่อเดินทางไปถึงยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ซึ่งคือระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 145 หน่วยดาราศาสตร์ ค่า[[ความส่องสว่างปรากฏ]] (apparent magnitude) เท่ากับ -15.9 หน่วย (น้อยกว่าค่าความสว่างของดวงจันทร์เต็มดวง 30 เท่า)<ref name="Peat-201209092">{{cite web|last=Thongoon|first=Kiattisak|title=Spacecraft escaping the Solar System|url=https://www.heavens-above.com/SolarEscape.aspx|date=June 7, 2019|publisher=Heavens-Above|accessdate=June 7, 2019}}</ref> ยานกำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสัมพัทธ์กับดวงอาทิตย์ 16.972 กิโลเมตรต่อวินาที (10.434 กิโลไมล์ต่อวินาที) ด้วยความเร็วนี้จะต้องใช้เวลาประมาณ 17,676 ปีเพื่อเดินทางให้ได้ระยะทางเท่ากับ 1 [[ปีแสง]]<ref name="Peat-201209092" />
 
ช่วงปลายปี ค.ศ. 2012 กลุ่มนักวิจัยพบว่าข้อมูลอนุภาคที่ได้จากยานบ่งชี้ว่ายานได้เดินทางผ่านชั้นเฮลิโอพอสแล้ว ค่าต่างๆ ที่วัดได้แสดงให้เห็นว่ามีการชนกันของอนุภาคพลังงานสูงเพิ่มขึ้นแบบคงที่ (มากกว่า 70 ล้าน[[อิเล็กตรอนโวลต์]]) ซึ่งเชื่อว่าเป็น[[รังสีคอสมิก]]ที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากการระเบิด[[ซูเปอร์โนวา]]ที่ไกลออกไปจาก[[ระบบสุริยะ]] นอกจากนี้ในปลายเดือนสิงหาคมยังพบว่าการชนกันของอนุภาคพลังงานสูงมีค่าสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ขณะเดียวกันการชนกันของอนุภาคพลังงานต่ำพบว่ามีค่าลดลงเช่นกัน ซึ่งเชื่อว่าอนุภาคพลังงานต่ำเหล่านี้มีต้นกำเนิดมาจากดวงอาทิตย์<ref name="lifeslittlemysteries.com">{{cite web|url=https://www.livescience.com/23822-voyager-spacecraft-solar-system.html|title=Did NASA's Voyager 1 Spacecraft Just Exit the Solar System?|publisher=livescience|first=Natalie|last=Wolchover|accessdate=August 20, 2013}}</ref>
 
== อนาคตของยานสำรวจฯ ==