ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ}}{{Infobox spaceflight|name=''วอยเอจเจอร์ 1 (Voyager 1)''|image=Voyager_spacecraft.jpg|image_caption=ภาพจำลองของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1''|image_alt=|mission_type=การสำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอก อวกาศชั้นเฮลิโอสเฟียร์ และมวลสารระหว่างดาวฤกษ์|operator=[[ไฟล์:NASA logo.svg|20px]] [[นาซา]] / JPL|website={{url|https://voyager.jpl.nasa.gov/}}|COSPAR_ID=1977-084A<ref name="nasa.084A">{{cite web | url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | title=Voyager 1 | publisher=NASA/NSSDC | work=NSSDC Master Catalog | accessdate=August 21, 2013 | archive-url=https://web.archive.org/web/20131214045307/http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftOrbit.do?id=1977-084A | archive-date=December 14, 2013 | dead-url=yes | df=mdy-all }}</ref>|SATCAT=10321<ref name="n2yo.10321">{{cite web | url=https://www.n2yo.com/satellite/?s=10321 | title=Voyager 1 | publisher=N2YO | accessdate=August 21, 2013}}</ref>|mission_duration={{plainlist|
*{{Age in years, months and days| year=1977| month=09| day=05}}
*<small>สำรวจดาวเคราะห์: 3 ปี 3 เดือน 9 วัน
*สำรวจช่องว่างระหว่างดาวฤกษ์: {{Age in years, months and days|year=1980|month=12|day=14}} (อยู่ระหว่างดำเนินการ)</small>}}|spacecraft_type=|manufacturer=[[ไฟล์:Jet Propulsion Laboratory logo.svg|20px]] Jet Propulsion Laboratory (JPL)|dry_mass=|launch_mass={{convert|825.5|kg|abbr=on}}|power=470 วัตต์ (วันที่ปล่อยยาน)|launch_date=5 กันยายน ค.ศ. 1977, 12:56:00 UTC|launch_rocket=[[Titan IIIE]]|launch_site={{flagicon|USA}} ฐานปล่อยจรวดที่ 41 ฐานทัพอากาศ[[แหลมคะแนเวอรัล]]|launch_contractor=|last_contact=<!-- {{end-date|[date]}} -->|decay_date=|interplanetary={{Infobox spaceflight/IP
| type = flyby
| object = [[ดาวพฤหัสบดี]]
บรรทัด 24:
ภารกิจของยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' คือการบินเฉียด (flyby) [[ดาวพฤหัสบดี]] [[ดาวเสาร์]] และ[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ดวงจันทร์ไททัน]]ซึ่งเป็นดาวบริวารที่ใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ เดิมทีแล้วมีการวางเส้นทางโคจรของยานเพื่อบินเฉียด[[ดาวพลูโต]]โดยการไม่บินเฉียดดวงจันทร์ไททัน แต่ภายหลังมีการเปลี่ยนเป็นการบินเฉียดดวงจันทร์ไททันแทน เนื่องจากต้องการศึกษาชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น ซึ่งเป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์มากในขณะนั้น<ref name="faq3">{{cite web|url=https://www.jpl.nasa.gov/voyager/frequently-asked-questions/|title=Voyager – Frequently Asked Questions|publisher=NASA|date=February 14, 1990|accessdate=August 4, 2017}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.nasaspaceflight.com/2015/07/new-horizons-pluto-historic-kuiper-encounter/|title=New Horizons conducts flyby of Pluto in historic Kuiper Belt encounter|accessdate=September 2, 2015}}</ref><ref name="SD3">{{cite web|url=http://www.spacedaily.com/reports/What_If_Voyager_Had_Explored_Pluto_999.html|title=What If Voyager Had Explored Pluto?|accessdate=September 2, 2015}}</ref> ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ทำการสำรวจสภาพอากาศ สภาพสนามแม่เหล็ก และวงแหวนของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ นอกจากนี้ยังเป็นยานสำรวจลำแรกที่ได้ถ่ายภาพเผยรายละเอียดดาวบริวารของดาวฤกษ์เหล่านี้อีกด้วย
 
ภายหลังเสร็จสิ้นภารกิจหลักในการบินเฉียดดาวเสาร์เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ถือเป็นวัตถุสร้างโดยมนุษย์ชิ้นที่ 3 ที่โคจรด้วยความเร็วมากพอจนถึงระดับ[[ความเร็วหลุดพ้น]]จาก[[ระบบสุริยะ]] นอกจากนี้ในวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2012 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ยังเป็นยานอวกาศลำแรกที่ได้ข้ามผ่านอวกาศชั้น[[เฮลิโอพอส]] (heliopause) และเข้าสู่อวกาศชั้น[[มวลสารระหว่างดาว]] (Interstellar Medium)<ref name="NYT-20130912">{{cite news|last=Barnes|first=Brooks|title=In a Breathtaking First, NASA Craft Exits the Solar System|url=https://www.nytimes.com/2013/09/13/science/in-a-breathtaking-first-nasa-craft-exits-the-solar-system.html|date=September 12, 2013|work=[[New York Times]]|accessdate=September 12, 2013}}</ref>{{ใช้ปีคศ}}ในปี ค.ศ. 2017 ทีมงานของวอยเอจเจอร์ประสบความสำเร็จในการทดลองจุดชุดเครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้ในการควบคุมแนวโคจร (Trajectory Correction Maneuver: TCM) ซึ่งไม่มีการใช้งานมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 ส่งผลให้สามารถขยายเวลาทำภารกิจของยานไปได้อีกสองถึงสามปี<ref name="Backup thrusters test2">{{cite news|last=Wall|first=Mike|title=Voyager 1 Just Fired Up its Backup Thrusters for the 1st Time in 37 Years|url=https://www.space.com/38967-voyager-1-fires-backup-thrusters-after-37-years.html|accessdate=December 3, 2017|publisher=Space.com|date=December 1, 2017}}</ref>
 
ในปี ค.ศ. 2017 ทีมงานของวอยเอจเจอร์ประสบความสำเร็จในการทดลองจุดชุดเครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้ในการควบคุมแนวโคจร (Trajectory Correction Maneuver: TCM) ซึ่งไม่มีการใช้งานมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 ส่งผลให้สามารถขยายเวลาทำภารกิจของยานไปได้อีกสองถึงสามปี<ref name="Backup thrusters test2">{{cite news|last=Wall|first=Mike|title=Voyager 1 Just Fired Up its Backup Thrusters for the 1st Time in 37 Years|url=https://www.space.com/38967-voyager-1-fires-backup-thrusters-after-37-years.html|accessdate=December 3, 2017|publisher=Space.com|date=December 1, 2017}}</ref>
 
มีการประมาณการว่ายานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' จะยังสามารถทำภารกิจต่อไปได้จนถึงปี ค.ศ. 2025 หรือจนกว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี (Radioisotope Thermoelectric Generator: RTG) จะจ่ายไฟได้ไม่เพียงพอความต้องการของอุปกรณ์ภายในยาน หลังจากนั้นยานจะโคจรเป็นวัตถุเร่ร่อนในอวกาศ
เส้น 514 ⟶ 512:
 
== โคจรออกจากเฮลิโอสเฟียร์ ==
[[File:Family_portrait_(Voyager_1).png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Family_portrait_(Voyager_1).png|alt=A set of grey squares trace roughly left to right. A few are labeled with single letters associated with a nearby colored square. J is near to a square labeled Jupiter; E to Earth; V to Venus; S to Saturn; U to Uranus; N to Neptune. A small spot appears at the center of each colored square|thumb|400x400px|ภาพครอบครัวระบบสุริยะที่ได้จากยานสำรวจ ''วอยเอเจอร์ 1'']]
[[File:Pale_Blue_Dot.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Pale_Blue_Dot.png|left|thumb|271x271px|The ''[[:en:Pale_Blue_Dot|Pale Blue Dot]]'' image showing Earth from 6&nbsp;billion kilometers appearing as a tiny dot (the blueish-white speck approximately halfway down the brown band to the right) within the darkness of deep space]]
ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ทำการถ่าย[[ภาพครอบครัวระบบสุริยะ]] (family portrait) จากมุมมองนอกระบบสุริยะได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์<ref name="nasa.family">{{cite web|url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/photo_gallery/caption/solar_family.txt|title=Photo Caption|publisher=Public Information Office|accessdate=August 26, 2010}}</ref> ซึ่งรวมถึงภาพถ่ายของโลกที่รู้จักกันในชื่อ[[เพลบลูดอต]] (Pale Blue Dot) ก่อนที่จะทำการปิดการทำงานของอุปกรณ์กล้องถ่ายภาพเพื่อสงวนพลังงานสำหรับระบบอื่นในยานหลังจากนั้น เนื่องจากซอฟต์แวร์ของระบบกล้องถ่ายภาพทั้งหมดได้ถูกลบออกหมดแล้ว จึงเป็นการยากที่จะเปิดระบบนี้ขึ้นมาใช้งานอีกครั้ง นอกจากนี้ก็ไม่มีซอฟต์แวร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของยานบนโลกอีกแล้วเช่นกัน<ref name="faq2">{{cite web|url=https://www.jpl.nasa.gov/voyager/frequently-asked-questions/|title=Voyager – Frequently Asked Questions|publisher=NASA|date=February 14, 1990|accessdate=August 4, 2017}}</ref>
 
บรรทัด 521:
 
=== กำแพงกระแทก ===
เหล่านักวิทยาศาสตร์จากห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์ของ[[มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์]] (Johns Hopkins University) เชื่อว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้เดินทางเข้าสู่ชั้น[[กำแพงกระแทก]] (termination shock) ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003<ref name="cnn.20031105">{{cite news|url=http://edition.cnn.com/2003/TECH/space/11/05/voyager.solar.boundary/|title=Spacecraft reaches edge of Solar System|first=Kate|last=Tobin|publisher=CNN|date=November 5, 2003|accessdate=August 19, 2013}}</ref> บริเวณนี้เป็นจุดที่ลมสุริยะชะลอความเร็วลงจนช้ากว่าความเร็วของเสียง (subsonic speed) หรือต่ำกว่า 100 กิโลเมตรต่อวินาที แต่ก็ยังมีข้อถกเถียงโต้แย้งกันในหมู่นักวิทยาศาสตร์กลุ่มอื่นๆ มีการถกประเด็นกันในวารสารวิชาการเนเจอร์ (Nature journal'')'' ฉบับวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 2003<ref name="n.426021">{{cite journal|doi=10.1038/426021a|title=Planetary Science: Over the edge?|date=2003|last=Fisk|first=Len A.|journal=Nature|volume=426|issue=6962|pages=21–2|pmid=14603294|bibcode=2003Natur.426...21F|url=https://deepblue.lib.umich.edu/bitstream/2027.42/62712/1/426021a.pdf}}</ref> ข้อโต้แย้งนี้จะยังคงมีต่อไปจนกว่าจะมีข้อมูลใหม่ที่สามารถยืนยันได้ อีกทั้งอุปกรณ์ตรวจจับลมสุริยะที่ติดตั้งไว้บนยานได้หยุดการทำงานไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 ทำให้การตรวจหาชั้นกำแพงกระแทกทำได้โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากอุปกรณ์ตัวอื่นที่ติดตั้งบนยานแทน<ref name="n.02068">{{cite journal|doi=10.1038/nature02068|title=Voyager 1 exited the solar wind at a distance of ∼85 au from the Sun|date=2003|last=Krimigis|first=S. M.|last2=Decker|first2=R. B.|last3=Hill|first3=M. E.|last4=Armstrong|first4=T. P.|last5=Gloeckler|first5=G.|last6=Hamilton|first6=D. C.|last7=Lanzerotti|first7=L. J.|last8=Roelof|first8=E. C.|journal=Nature|volume=426|issue=6962|pages=45–8|pmid=14603311|bibcode=2003Natur.426...45K}}</ref><ref name="n.02066">{{cite journal|doi=10.1038/nature02066|title=Enhancements of energetic particles near the heliospheric termination shock|date=2003|last=McDonald|first=Frank B.|last2=Stone|first2=Edward C.|last3=Cummings|first3=Alan C.|last4=Heikkila|first4=Bryant|last5=Lal|first5=Nand|last6=Webber|first6=William R.|journal=Nature|volume=426|issue=6962|pages=48–51|pmid=14603312|bibcode=2003Natur.426...48M}}</ref><ref name="grl.018291">{{cite journal|doi=10.1029/2003GL018291|title=Search for the heliosheath with Voyager 1 magnetic field measurements|date=2003|last=Burlaga|first=L. F.|journal=Geophysical Research Letters|volume=30|issue=20|pages=n/a|bibcode=2003GeoRL..30.2072B|url=https://authors.library.caltech.edu/55625/1/2003-46.pdf}}</ref>
 
ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2005 ทางนาซาได้เผยแพร่บทความสรุปผลว่ายานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้โคจรเข้าสู่ห้วงอวกาศบริเวณที่เรียกว่าเฮลิโอชีท (heliosheath) ในงานประชุมทางวิทยาศาสตร์ที่จัดขึ้นที่[[สหภาพธรณีวิทยาอเมริกา]] (American Geophysical Union: AGU) เมือง[[นิวออร์ลีนส์]] วันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 2005 ทาง ดร.เอ็ด สโตน ([[:en:Ed_Stone|Ed Stone]]) ได้เสนอหลักฐานที่ยืนยันได้ว่ายานเดินทางผ่านชั้นกำแพงกระแทกในช่วงปลายปี ค.ศ. 2004<ref name="cross">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|title=Voyager crosses termination shock|accessdate=August 29, 2013}}</ref> ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็นวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2004 ที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 94 หน่วยดาราศาสตร์<ref name="cross2">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/interstellar.html|title=Voyager crosses termination shock|accessdate=August 29, 2013}}</ref><ref name="nasa.timeline">{{cite web|title=Voyager Timeline|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/mission/timeline.html|publisher=NASA/JPL|date=February 2013|accessdate=December 2, 2013}}</ref>
 
=== เฮลิโอชีท ===
ในวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 2006 กลุ่ม[[นักวิทยุสมัครเล่น]]จากองค์กร[[กิจการดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น]] หรือ [[:en:AMSAT|AMSAT]] ในประเทศเยอรมนี ได้รับสัญญาณคลื่นวิทยุจากยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ผ่านจานดาวเทียมขนาด 20 เมตร (66 ฟุต) ที่เมืองโบคุม สัญญาณที่พบได้ถูกตรวจสอบและยืนยันแล้วโดยเทียบกับสัญญาณที่ได้รับจากเครือข่ายสื่อสารอวกาศห้วงลึก (DSN) ที่้เมืองมาดริด ประเทศสเปน<ref name="ham">{{cite web|url=http://amsat-dl.org/cms/index.php?option=com_content&task=view&id=62&Itemid=97|publisher=AMSAT-DL|language=German|title=ARRL article|deadurl=yes|archivedate=October 14, 2006|archiveurl=https://web.archive.org/web/20061014165205/http://www.amsat-dl.org/cms/index.php?option=com_content&task=view&id=62&Itemid=97}} {{cite web|url=http://www.mail-archive.com/medianews@twiar.org/msg09959.html|title=ARRL article}}</ref> ซึ่งนับได้ว่าเป็นกลุ่มนักวิทยุสมัครเล่นกลุ่มแรกที่สามารถติดตามสัญญาณของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้<ref name="ham2">{{cite web|url=http://amsat-dl.org/cms/index.php?option=com_content&task=view&id=62&Itemid=97|publisher=AMSAT-DL|language=German|title=ARRL article|deadurl=yes|archivedate=October 14, 2006|archiveurl=https://web.archive.org/web/20061014165205/http://www.amsat-dl.org/cms/index.php?option=com_content&task=view&id=62&Itemid=97}} {{cite web|url=http://www.mail-archive.com/medianews@twiar.org/msg09959.html|title=ARRL article}}</ref>
 
วันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 2010 ได้รับการยืนยันว่ายานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้เดินทางผ่านขอบเขตการขยายตัวของ[[ลมสุริยะ]] โดยอาศัยข้อมูลที่วัดได้จากเครื่องตรวจวัดอนุภาคมีประจุพลังงานต่ำ (Low Energy Charged Particle: LECP) มีการตั้งข้อสันนิษฐานว่าลมสุริยะในบริเวณนี้มีทิศทางไหลย้อนกลับอันเนื่องมาจากสสารระหว่างดาว (interstellar) ที่พยายามไหลต้านเฮลิโอสเฟียร์ (heliosphere) และในเดือน มิถุนายน ค.ศ. 2010 มีการตรวจพบว่าลมสุริยะมีค่าคงที่เป็นศูนย์ ซึ่งใช้สนับสนุนข้อสันนิษฐานนี้ได้เป็นอย่างดี<ref name="nasa.36121">{{cite web|url=http://solarsystem.nasa.gov/news/display.cfm?News_ID=36121|title=Voyager 1 Sees Solar Wind Decline|publisher=NASA|date=December 13, 2010|accessdate=September 16, 2013|deadurl=yes|archiveurl=https://www.webcitation.org/617oC2rqu?url=http://solarsystem.nasa.gov/news/display.cfm?News_ID=36121|archivedate=August 22, 2011|df=mdy-all}}</ref><ref name="Krimigis2011">{{Cite journal|last1=Krimigis|first1=S. M.|last2=Roelof|first2=E. C.|last3=Decker|first3=R. B.|last4=Hill|first4=M. E.|title=Zero outward flow velocity for plasma in a heliosheath transition layer|doi=10.1038/nature10115|journal=Nature|volume=474|issue=7351|pages=359–361|year=2011|pmid=21677754|pmc=|bibcode=2011Natur.474..359K}}</ref> ซึ่งในวันนั้นยานได้โคจรห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 116 หน่วยดาราศาสตร์ หรือประมาณ 17.3 พันล้านกิโลเมตร (10.8 พันล้านไมล์)<ref name="bbc.11988466">{{cite news|url=https://www.bbc.co.uk/news/science-environment-11988466|title=Voyager near Solar System's edge|first=Jonathan|last=Amos|work=BBC News|date=December 14, 2010|accessdate=December 21, 2010}}</ref>
<br />
 
== อนาคตของยานสำรวจฯ ==