ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอยเอจเจอร์ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Samnosphere (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 54:
 
==== ระบบคอมพิวเตอร์ ====
แทบทุกส่วนของตัวยานสำรวจทำงานโดยอัตโนมัติผ่านการควบคุมโดยด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ยกเว้นระบบถ่ายภาพแสงที่มองเห็นได้ (Visiblevisible Lightlight) ซึ่งเป็นเพียงระบบเดียวที่ไม่ได้ทำงานแบบอัตโนมัติ แต่จะถูกควบคุมโดยชุดค่าพารามิเตอร์ในระบบย่อยข้อมูลการบิน (Flight Data Subsystem หรือ: FDS) ต่างจากกล้องถ่ายภาพในยานสำรวจยุคหลังจากปี ค.ศ. 1990 ที่เปลี่ยนมาใช้ระบบควบคุมแบบอัตโนมัติทั้งหมดแล้ว<ref>{{cite web|url=https://pds-rings.seti.org/voyager/iss/inst_cat_wa1.html|title=pds-rings|accessdate=May 23, 2015}}</ref>
 
ระบบย่อยคอมพิวเตอร์สั่งการ (Computer Command Subsystem หรือ: CCS) ประกอบไปด้วยชุดคำสั่งแบบสำเร็จ เช่น ชุดคำสั่งถอดรหัส ชุดคำสั่งตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่อง ชุดคำสั่งควบคุมทิศทางของเสาอากาศ และชุดคำสั่งควบคุมตำแหน่งยาน คอมพิวเตอร์ส่วนนี้เป็นส่วนที่พัฒนามาจากคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในยานโครงการไวกิ้ง (Viking Program) ช่วงยุค ค.ศ. 1970<ref name="nasa.ch6-2">{{cite web|last=Tomayko|first=James|publisher=NASA|date=April 1987|url=https://history.nasa.gov/computers/Ch6-2.html|title=Computers in Spaceflight: The NASA Experience|accessdate=February 6, 2010}}</ref> ฮาร์ดแวร์ที่ใช้สำหรับระบบ CCS ย่อยคอมพิวเตอร์สั่งการสำหรับยานสำรวจทั้งหมดในโครงการ ''โวเอจเจอร์'' จะเหมือนทุกประการ มีเพียงการแก้ไขซอฟต์แวร์บ้างเล็กน้อยสำหรับอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ต่างกันบางชิ้น{{citation needed|date=February 2016}}
 
ระบบย่อยควบคุมตำแหน่งและเส้นทางโคจร (Attitude and Articulation Control Subsystem หรือ: AACS) เป็นระบบที่ใช้ในการควบคุมตำแหน่งและทิศทางของตัวยาน คอยควบคุมองศาของเสาอากาศยานให้ชี้มายังโลก ควบคุมการเปลี่ยนตำแหน่ง และบังคับทิศทางของยานเพื่อทำการถ่ายภาพวัตถุและพื้นผิว ระบบ AACS ย่อยนี้สำหรับยานสำรวจในโครงการ ''โวเอจเจอร์'' จะเหมือนทุกประการ<ref>{{cite web|url=http://www.au.af.mil/au/awc/awcgate/jplbasic/bsf11-2.htm|title=au.af|accessdate=May 23, 2015}}</ref><ref>{{cite web|url=https://airandspace.si.edu/collections/artifact.cfm?object=nasm_A19990066000|title=airandspace|accessdate=May 23, 2015}}</ref>
 
==== เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์ ====
บรรทัด 66:
|-
! scope="col" style="width:200px;" | ประเภท
! scope="col" style="width:50px;" | ชื่อย่อตัวย่อ
<!-- ! scope="col" width="50" | Image -->
! รายละเอียดการทำงาน
บรรทัด 225:
<!-- Diagram image -->
<!-- {{Css Image Crop |Image= |bSize= 160px |cWidth= 50 |cHeight= 80 |oTop= 0 |oLeft= 0 |Location= Center}} -->
| style="text-align:left;" | ทำการสำรวจดุลพลังงาน (Energyenergy Balancebalance) และองค์ประกอบของชั้นบรรยากาศแบบเฉพาะพื้นที่และแบบทั่วทั้งดาว นอกจากนี้ยังเก็บข้อมูลรายละเอียดของระดับอุณภูมิในแต่ละชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์และเหล่าดาวบริวาร รวมถึงองค์ประกอบ สมบัติทางความร้อน และขนาดของวัตถุที่อยู่ใน[[วงแหวนของดาวเสาร์]] [https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/experimentDisplay.do?id=1977-084A-03 เพิ่มเติม]
 
|-
บรรทัด 245:
<!-- Diagram image -->
<!-- {{Css Image Crop |Image= |bSize= 160px |cWidth= 50 |cHeight= 80 |oTop= 0 |oLeft= 0 |Location= Center}} -->
| style="text-align:left;" | ออกแบบมาเพื่อทำการศึกษา[[สนามแม่เหล็ก]] ของดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ ปฏิกิริยาระหว่าง[[พายุสุริยะ]]ที่มีต่อ[[แม็กนีโตสเฟียร์]]ของดาวเคราะห์แต่ละดวง สนามแม่เหล็กของพื้นที่ระหว่างดวงดาว (Interplanetaryinterplanetary Spacespace) ไปจนถึงเส้นขอบระหว่างพายุสุริยะกับสนามแม่เหล็กของพื้นที่ว่างกลางอวกาศ (Interstellarinterstellar Spacespace) [https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/experimentDisplay.do?id=1977-084A-05 เพิ่มเติม]
 
|-
บรรทัด 265:
<!-- Diagram image -->
<!-- {{Css Image Crop |Image= |bSize= 160px |cWidth= 50 |cHeight= 80 |oTop= 0 |oLeft= 0 |Location= Center}} -->
| style="text-align:left;" | ทำการวัดความค่าความเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์พลังงาน (Energyenergy Fluxflux) การกระจายเชิงมุมของไอออนและอิเล็กตรอน ตลอดจนวัดความเปลี่ยนแปลงของพลังงานในสารประกอบไอออน (Ionion Compositioncomposition) [https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/experimentDisplay.do?id=1977-084A-07 เพิ่มเติม]
 
|-
บรรทัด 275:
<!-- Diagram image -->
<!-- {{Css Image Crop |Image= |bSize= 160px |cWidth= 50 |cHeight= 80 |oTop= 0 |oLeft= 0 |Location= Center}} -->
| style="text-align:left;" | ทำการค้นหาแหล่งกำเนิดและกระบวนการเร่ง ประวัติในช่วงชีวิตและการพัวพันเชิงพลวัต (Dynamicdynamic Contributioncontribution) ของรังสีคอสมิกรระหว่างดวงดาว (Interstellarinterstellar Cosmiccosmic Rayray) การสังเคราะห์นิวเคลียส (Nucleosynthesisnucleosynthesis) ของธาตุองค์ประกอบในแหล่งกำเนิดของรังสีคอสมิก พฤติกรรมของ[[รังสีคอสมิก]]ในกลุ่ม[[มวลสารระหว่างดาว]] (Interplanetaryinterplanetary Mediummedium) รวมถึงสภาพแวดล้อมของอนุภาคพลังงานสูงของดาวเคราะห์ที่ถูกกักไว้ (Trappedtrapped Planetaryplanetary Energeticenergetic-Particleparticle) [https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/experimentDisplay.do?id=1977-084A-08 เพิ่มเติม]
 
|-
บรรทัด 314:
| lines = 3
| File:Voyager1 Space simulator.gif
| ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ในหอจำลองสภาพอวกาศ
| File:Record is attached to Voyager 1.jpg
| [[แผ่นจานทองคำของวอยเอจเจอร์|แผ่นจานทองคำ]] ถูกติดตั้งไปกับยาน ''วอยเอจเจอร์ 1''
บรรทัด 346:
|-
| 19 ธันวาคม 1977
| ตำแหน่งระยะห่างจากโลกของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' เริ่มแซงยาน ''[[วอยเอจเจอร์ 2]]''. ('''''[[:File:Voyager 1 - Voyager 2 - Voyager 1 overtakes Voyager 2.png|ดูแผนผัง]]''''')
|-
| 8 กันยายน 1978
บรรทัด 432:
|-
| 14 กุมภาพันธ์ 1990
| ภาพถ่ายสุดท้ายของ[[โครงการวอยเอจเจอร์]]ที่ได้จากยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ซึ่งภายหลังถูกนำมาประกอบเป็น[[ภาพครอบครัวสุริยะ]] (Familyfamily Portraitportrait) จากนั้นปิดการทำงานของกล้องถ่ายภาพทั้ง 2 ชุดเพื่อสงวนพลังงาน
|-
| 17 กุมภาพันธ์ 1998
| ''วอยเอจเจอร์ 1'' ทำสถิติวัตถุที่สร้างโดยมนุษย์ที่อยู่ไกลจาก[[ดวงอาทิตย์]]มากที่สุดซึ่งยาน ''[[ไพโอเนียร์ 10]]'' เคยทำไว้ที่ระยะ 69.419&nbsp;[[หน่วยดาราศาสตร์]] ด้วยอัตราเร็ว 1&nbsp;หน่วยดาราศาสตร์ต่อปี ซึ่งถือว่าเป็นความเร็วที่มากที่สุดในประวัติศาสตร์เช่นกัน
|-
| 3 มิถุนายน 1998
บรรทัด 441:
|-
| 16 ธันวาคม 2004
| เคลื่อนผ่านชั้น[[เฮลิโอสเฟียร์#กำแพงกระแทก|กำแพงกระแทก]] (Terminationtermination Shockshock) ที่ระยะ 94&nbsp;หน่วยดาราศาสตร์ และเข้าสู่ชั้น[[เฮลิโอสเฟียร์#เฮลิโอชีท|เฮลิโอชีท]]
|-
| 1 กุมภาพันธ์ 2007
บรรทัด 450:
|-
| 25 สิงหาคม 2012
| ผ่านเข้าสู่อวกาศชั้น[[เฮลิโอสเฟียร์#เฮลิโอพอส|เฮลิโอพอส]]ที่ระยะ 121 [[หน่วยดาราศาสตร์]] และเข้าสู่ช่วงช่องว่างระหว่างดวงดาว (Interstellarinterstellar Spacespace)
|-
| 7 กรกฎาคม 2014
| ยืนยันตำแหน่งของยานอยู่ในช่องว่างระหว่างดวงดาว (Interstellarinterstellar Spacespace)
|-
| 19 เมษายน 2016
บรรทัด 468:
 
{{legend2|magenta|''วอยเอจเจอร์ 1''}}{{·}}{{legend2|Royalblue|[[โลก]]}}{{·}}{{legend2|Cyan|[[ดาวพฤหัสบดี]]}}{{·}}{{legend2|Lime|[[ดาวเสาร์]]}}{{·}}{{legend2|Yellow|[[ดวงอาทิตย์]]}}|alt=]]
ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ถูกส่งขึ้นไปในอวกาศเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1977 ณ แท่นปล่อยจรวด 41 ฐานทัพอากาศ[[แหลมคะแนเวอรัล]] ด้วยจรวดนำส่ง [[Titan IIIE]] ประมาณ 2 สัปดาห์หลังจากยานสำรวจ ''[[วอยเอจเจอร์ 2]]'' ถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศไปก่อนเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ปีเดียวกัน อย่างไรก็ตาม แม้จะถูกส่งขึ้นอวกาศช้ากว่ายาน ''วอยเอจเจอร์ 2'' แต่ยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ก็เดินทางถึงดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ได้ก่อน<ref name="nasa.jupiter">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/jupiter.html|title=Encounter with Jupiter|publisher=NASA|accessdate=August 18, 2013}}</ref> ด้วยเส้นทางโคจร (trajectory) ที่สั้นกว่า''<ref name="nasa.planetary">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/planetary.html|title=Planetary voyage|publisher=NASA|accessdate=August 18, 2013}}</ref>''
[[ไฟล์:Voyager-1_Jupiter-flyby_March-5-1979.png|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Voyager-1_Jupiter-flyby_March-5-1979.png|alt=|thumb|แนวการเคลื่อนที่วิถึโค้งของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ผ่านระบบดาวพฤหัสบดี]]
 
=== บินเฉียดดาวพฤหัสบดี ===
{{Main|การสำรวจดาวพฤหัสบดี}}ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' เริ่มทำการถ่ายภาพดาวพฤหัสบดีในปี ค.ศ. 1979 โดยบินเฉียดระยะใกล้มากที่สุดคือที่ระยะห่างประมาณ {{convert|349000|km|mi|abbr=off|sp=us}} จากจุดศูนย์กลางดาวเมื่อวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1979 และด้วยตำแน่งของยานที่อยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดี ทำให้ได้ภาพถ่ายที่มีรายละเอียดที่มากขึ้น ส่งผลให้ภารกิจการสังเกตการณ์ระบบของดาวพฤหัสบดีซึ่งได้แก่ เหล่าดาวบริวาร วงแหวน สนามแม่เหล็ก และสภาพแวดล้อมของ[[แถบกัมมันตรังสีแวนอัลเลน|แถบรังสีแวนแอลเลน]] (Van Allen Belts) เสร็จสิ้นภายใน 48 ชั่วโมงเท่านั้น ภารกิจการถ่ายภาพระบบดาวพฤหัสบดีเสร็จสิ้นลงในเดือนเมษายน ค.ศ. 1979
 
การค้นพบภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ (active volcanoes) บนดวงจันทร์[[ไอโอ (ดาวบริวาร)|ไอโอ]] (Io) ถือว่าเป็นการค้นพบที่สร้างความฮือฮาที่สุด นับเป็นครั้งแรกที่มีการค้นพบภูเขาไฟมีพลังบนดาวดวงอื่นใน[[ระบบสุริยะ]]นอกเหนือจากบนโลก อีกทั้งภูเขาไฟที่ครุกรุ่นเหล่านี้ยังส่งอิทธิพลไปยังดาวพฤหัสบดีด้วย ดวงจันทร์ไอโอถือเป็นแหล่งของสสารหลักที่แผ่ไปทั่วชั้น[[แม็กนีโตสเฟียร์]] (บริเวณโดยรอบของดาวฤกษ์ที่ได้รับอิทธิพลอย่างรุนแรงจากสนามแม่เหล็ก) ของดาวพฤหัสบดี โดยมีการค้นพบร่องรอยของ[[ซัลเฟอร์]] [[ออกซิเจน]] และ[[โซเดียม]]ที่เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟบนดวงจันทร์ไอโอปะปนอยู่ในขอบนอกของชั้นแม็กนีโตสเฟียร์ของดาวพฤหัสบดี<ref name="nasa.jupiter2">{{cite web|url=https://voyager.jpl.nasa.gov/science/jupiter.html|title=Encounter with Jupiter|publisher=NASA|accessdate=August 18, 2013}}</ref>
บรรทัด 499:
ภารกิจของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ยังรวมถึงการบินเฉียดดวงจันทร์[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ไททัน]] ดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ ซึ่งมีการค้นพบการมีอยู่ของชั้นบรรยากาศจากภาพถ่ายที่ได้จากยานไพโอเนียร์ 11 ในปี ค.ศ. 1979 ระบุว่ามีชั้นบรรยากาศที่หนาแน่นและซับซ้อน ซึ่งทำให้เป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์ในเวลาต่อมา การบินเฉียดดวงจันทร์ไททันเกิดขึ้นเมื่อยานพยายามเดินทางเข้าสู่ระบบของดาวเสาร์โดยพยายามหลีกเลี่ยงการปะทะที่อาจส่งผลต่อการสำรวจ ในที่สุดยานก็เข้าใกล้ที่ระยะประมาณ {{convert|4000|mi|km|order=flip|abbr=on}} จากด้านหลังดวงจันทร์ไททันหากมองจากโลก เครื่องมือบนยานทำการตรวจวัดปฏิกิริยาระหว่างชั้นบรรยากาศกับแสงอาทิตย์ มีการใช้คลื่นวิทยุของยานเพื่อทำการค้นหาองค์ประกอบ ความหนาแน่น และความดันของชั้นบรรยากาศ นอกจากนี้ยังทำการวัดมวลของดวงจันทร์ไททันโดยอาศัยการสังเกตแรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อเส้นทางโคจรของยาน ชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมอย่างหนาแน่นกลายเป็นอุปสรรคทำให้ไม่สามารถมองทะลุถึงพื้นผิวได้ แต่ข้อมูลต่างๆ ที่เก็บได้จากชั้นบรรยากาศทำให้สามารถคาดการณ์ได้ว่ามีทะเลสาบโฮโดรคาร์บอนเหลวอยู่บนพื้นผิวดาว<ref name="Bell2015">{{cite book|author=Jim Bell|title=The Interstellar Age: Inside the Forty-Year Voyager Mission|url=https://books.google.com/books?id=KXPoAwAAQBAJ&pg=PT93|date=February 24, 2015|publisher=Penguin Publishing Group|isbn=978-0-698-18615-6|pages=93}}</ref>
 
เนื่องภารกิจการสำรวจดวงจันทร์ไททันถูกจัดให้เป็นภารกิจสำคัญ ดังนั้นเส้นทางการโคจรของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' จึงถูกออกแบบให้บินเฉียดดวงจันทร์ไททันให้มากที่สุด ส่งผลให้ยานเคลื่อนผ่านขั้วโลกใต้ของดาวเสาร์และหลุดออกจากระนาบสุริยวิถี ซึ่งทำให้ภารกิจการสำรวจดาวเคราะห์นั้นสิ้นสุดลงไปด้วย<ref name="Swift1997">{{cite book|author=David W. Swift|title=Voyager Tales: Personal Views of the Grand Tour|url=https://books.google.com/books?id=E-NGFqfq1LsC&pg=PA69|date=January 1, 1997|publisher=AIAA|isbn=978-1-56347-252-7|page=69}}</ref> นอกจากนี้หากยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' ล้มเหลวในการเข้าใกล้เพื่อทำการสำรวจดวงจันทร์ไททัน ทางนาซ่าก็ยังสามารถปรับเปลี่ยนเส้นทางของยาน ''วอยเอจเจอร์ 2'' มาทำภารกิจนี้แทนได้<ref name="Bell20152">{{cite book|author=Jim Bell|title=The Interstellar Age: Inside the Forty-Year Voyager Mission|url=https://books.google.com/books?id=KXPoAwAAQBAJ&pg=PT93|date=February 24, 2015|publisher=Penguin Publishing Group|isbn=978-0-698-18615-6|pages=93}}</ref>{{rp|94}} โดยไม่โคจรผ่านดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน<ref name="faq">{{cite web|url=https://www.jpl.nasa.gov/voyager/frequently-asked-questions/|title=Voyager – Frequently Asked Questions|publisher=NASA|date=February 14, 1990|accessdate=August 4, 2017}}</ref> ซึ่งที่จริงแล้วเส้นทางโคจรเดิมของยาน ''วอยเอจเจอร์ 1'' จะไม่มีการโคจรผ่านดาวยูเรนัสหรือดาวเนปจูนอยู่แล้ว<ref name="Swift1997" />{{rp|155}} แต่ก็ยังสามารถปรับเปลี่ยนเส้นทางภายหลังได้โดยการไม่บินเฉียดดวงจันทร์ไททันและยังสามารถเดินทางไปยังดาวพลูโตได้ภายในปี ค.ศ. 1986 อีกด้วย<ref name="SD">{{cite web|url=http://www.spacedaily.com/reports/What_If_Voyager_Had_Explored_Pluto_999.html|title=What If Voyager Had Explored Pluto?|accessdate=September 2, 2015}}</ref>
{{Clear}}
<gallery mode="packed" heights="180">
บรรทัด 514:
 
== โคจรออกจากเฮลิโอสเฟียร์ ==
ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' ได้ทำการถ่าย[[ภาพครอบครัวระบบสุริยะ]] (family portrait) จากมุมมองนอกระบบสุริยะได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์<ref name="nasa.family">{{cite web|url=https://nssdc.gsfc.nasa.gov/photo_gallery/caption/solar_family.txt|title=Photo Caption|publisher=Public Information Office|accessdate=August 26, 2010}}</ref> ซึ่งรวมถึงภาพถ่ายของโลกที่รู้จักกันในชื่อ[[เพลบลูดอต]] (Pale Blue Dot) ก่อนที่จะทำการปิดการทำงานของอุปกรณ์กล้องถ่ายภาพเพื่อสงวนพลังงานสำหรับระบบอื่นในยานในเวลาต่อมาหลังจากนั้น อีกทั้งเนื่องจากซอฟต์แวร์ของระบบกล้องถ่ายภาพทั้งหมดได้ถูกลบออกหมดแล้ว จึงเป็นการยากที่จะเปิดระบบนี้ขึ้นมาใช้งานอีกครั้ง นอกจากนี้ก็ไม่มีซอฟต์แวร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของยานบนโลกอีกแล้วเช่นกัน<ref name="faq2">{{cite web|url=https://www.jpl.nasa.gov/voyager/frequently-asked-questions/|title=Voyager – Frequently Asked Questions|publisher=NASA|date=February 14, 1990|accessdate=August 4, 2017}}</ref>
 
ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998 ยานสำรวจ ''วอยเอจเจอร์ 1'' โคจรที่ระยะห่าง 69 หน่วยดาราศาสตร์จากดวงอาทิตย์ ซึ่งมากกว่าระยะที่ยาน[[ไพโอเนียร์ 10]] ที่เคยเป็นยานอวกาศที่โคจรโดยมีระยะห่างจากโลกมากที่สุด<ref name="cnn.9802">{{cite news|title=Voyager 1 now most distant man-made object in space|url=http://edition.cnn.com/TECH/space/9802/17/nasa.distant.objects/|publisher=CNN|accessdate=July 1, 2012|archiveurl=https://www.webcitation.org/68pdJn9M5?url=http://edition.cnn.com/TECH/space/9802/17/nasa.distant.objects/|archivedate=July 1, 2012|date=February 17, 1998|deadurl=yes|df=mdy-all}}</ref><ref name="g.2013sep13">{{cite news|last=Clark|first=Stuart|title=Voyager 1 leaving solar system matches feats of great human explorers|url=https://www.theguardian.com/science/across-the-universe/2013/sep/13/voyager-1-solar-system-great-explorers|newspaper=The Guardian|date=September 13, 2013}}</ref> นอกจากนี้ยานยังเดินทางด้วยความเร็วประมาณ 17 กิโลเมตรต่อวินาที (11 ไมล์ต่อวินาที)<ref name="goo.50">{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=-vZ0BVSHix4C&pg=PA62|title=If the Universe is Teeming with Aliens … WHERE IS EVERYBODY?: Fifty Solutions to the Fermi Paradox and the Problem of Extraterrestrial Life|isbn=978-0-387-95501-8|last=Webb|first=Stephen|date=October 4, 2002}}</ref> ซึ่งเป็นความเร็วถอยห่าง (recession speed) จากดวงอาทิตย์ที่มากที่สุดเมื่อเทียบกับยานอวกาศทุกลำ<ref name="dd.fast">{{cite web|url=http://www.daviddarling.info/encyclopedia/F/fastest_spacecraft.html|title=Fastest Spacecraft|first=David|last=Darling|accessdate=August 19, 2013}}</ref>