ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสังเกต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''การสังเกต''' คือการได้มาซึ่งการพิจารณาใน[[สิ่งมีชีวิต]]หรือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดยใช้ประสาทสัมผัส ในด้าน[[วิทยาศาสตร์]]การสังเกตเกี่ยวข้องกับการรับรู้และการบันทึกข้อมูลผ่านการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์เพื่อรวบรวมข้อมูลโดยไม่มีอคติ
'''การสังเกต''' โดยพื้นฐานหมายถึง[[การเฝ้าดู]]และ[[การจดบันทึก|จดบันทึก]]สิ่งที่เกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น การสังเกตท่วงท่าการบินของนกโดยเฝ้าดูอย่างใกล้ชิด [[ชีววิทยา]]และ[[ดาราศาสตร์]]จัดเป็นศาสตร์ที่มีพื้นฐานทาง[[ประวัติศาสตร์]]จากการสังเกตโดยนักสมัครเล่น เราอาจมีความสุขกับการสังเกตโดยทำเป็นงานอดิเรกก็ได้ เช่น นักดูนก และนักดาราศาสตร์สมัครเล่น เป็นต้น
 
== บทบาทของการสังเกตในระเบียบวิธีทางแบบวิทยาศาสตร์ ==
 
[[ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์]] หรือ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ([[scientific method]]) เป็นขั้นตอนที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการแก้ไขปัญหาทางวิทยาศาตร์เพื่อได้ข้อมูลอ้างอิงปัญหาได้ มี 6 ขั้นตอนดังนี้
# '''การสังเกต''' ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
# [[การตั้งสมมุติฐาน]] ในปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
# [[การทดสอบ]] การทำนาย และ
# ทบทวน เพื่อหาข้อบกพร่อง
 
1.สังเกต (observation) พิจารณาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
การสังเกตเกิดขึ้นในขั้นตอนแรกและขั้นตอนที่ 4 นะครับ
 
2.ตั้งคำถาม (question) กำหนดปัญหาที่สามารถตรวจสอบได้
 
3.ตั้ง[[สมมติฐาน]] ([[hypothesis]]) การคาดเดาคำตอบของปัญหาที่น่าจะเป็นไปได้
[[ไฟล์:Admiring the Galaxy.jpg|thumb|นักดาราศาสตร์สมัครเล่นใช้การสังเกตในการศึกษาวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ท้องฟ้าในเวลากลางคืน]]
4.[[การทดลอง]] (experiment) กระบวนการเพื่อตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้
 
5.วิเคราะห์ผล (analysis) นำผลการทดลองมาวิเคราะห์ และปรียบเทียบกับสมมติฐานว่าสอดคล้องกันหรือไม่
 
6.สรุปผล (conclusion) สรุปข้อมูลที่ได้จากการทดลองว่าสมมติฐานข้อใดถูก เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
[[หมวดหมู่:ประชาน]]
[[หมวดหมู่:ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์]]